Page 162 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 162

158
ดบั ไป กจ็ ะทา ใหค้ นเราเขา้ ไปคลกุ คลี ไปยดึ วา่ เปน็ ของเทยี่ ง วา่ เปน็ อยอู่ ยา่ ง นั้นตลอดเวลา คาว่า “อารมณ์” นั้นคืออะไร ? อารมณ์ที่เป็นความคิด เป็น ความปวด เป็นความทุกข์ เป็นความไม่สบายใจขึ้นมา ลองดู อารมณ์นั้น เที่ยงไหม ? เป็นอยู่อย่างนั้น หรือเป็นของไม่เที่ยง เกิดขึ้นแล้วเปลี่ยนไป มีแล้วหมดไปอยู่เรื่อย ๆ
แม้แต่รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสที่เกิดขึ้น ก็ตั้งอยู่ในกฎของ ไตรลกั ษณ์ มกี ารเกดิ ขนึ้ -ตงั้ อย-ู่ ดบั ไป... มอี ะไรบา้ งทบี่ อกวา่ เปน็ ของเรา ? มีสิ่งไหนบ้างที่บอกว่าเป็นของเรา ? แต่ละอย่างก็เป็นไปตามเหตุปัจจัย ของตน ตรงนี้คือการพิจารณาถึงกฎไตรลักษณ์ถึงความจริง ตรงนี้แหละ ที่เรียกว่า “ปัญญา” ปัญญาที่เป็นสัมมาทิฏฐิ เห็นตามความเป็นจริงตาม สิ่งที่พระองค์ทรงตรัสเอาไว้ เป็นปัญญาเห็นถึงความจริง คือความเป็น อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา เป็นปัญญาที่เห็นสัจธรรมจริง ๆ ที่เกิดขึ้นใน ชวี ติ ของเรา ใครกต็ ามพอเหน็ ถงึ ความเปน็ สจั ธรรมตรงนี้ เหน็ การเกดิ ขนึ้ - ตั้งอยู่-ดับไป แน่นอนว่าเมื่อมีปัญญาเกิดขึ้น ความรู้สึกที่จะเข้าไปคลุกไป ยึดเอาว่าเป็นตัวเราของเราก็จะน้อยลง หรือไม่เกิดขึ้นในขณะนั้น ๆ
นี่แหละ การที่เรารู้จักน้อมธรรมะ น้อมคาสอนขององค์สมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทาให้มีให้เกิดขึ้นในชีวิตของเรา แล้วเราจะรู้ว่าสิ่งที่ ดีที่สุดกับชีวิตของเราเป็นอะไร ที่สุดของความปรารถนาของชีวิตคืออะไร เหมือนที่เราปฏิบัติธรรม ผู้มีปัญญาทั้งหลาย ปรารถนาที่จะออกจากทุกข์ ออกจากวัฏสงสารนั่นแหละ เหมือนพระพุทธเจ้าเป็นผู้มีความปรารถนา อย่างแรงกล้า ออกแสวงหาสัจธรรมเพื่อที่จะออกจากวัฏสงสาร พ้นจาก ทุกข์ทั้งปวง ยอมเสียสละทุกอย่าง อดทนต่อเวทนาต่าง ๆ แม้แต่ทรงอด อาหาร ๔๕ วัน บาเพ็ญทุกรกิริยาอยู่ยาวนานทรมานมากมาย เพื่อที่จะหา


































































































   160   161   162   163   164