Page 161 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 161

ทาไมการทาใจให้ว่าง ให้เบา ให้กว้างกว่าตัว จึงเป็นสิ่งสาคัญ ? เพราะถ้าเราเห็นว่าใจที่ว่าง ที่เบา กว้างกว่าตัวเมื่อไหร่ จะเห็นว่าใจกับตัว เขาเป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน ตรงนี้จะเห็นได้ง่ายเพราะใจที่ว่าง เบา กว้างกว่าตัว จึงทาให้เห็นได้ง่าย และใจที่ว่าง เบา สามารถให้กว้าง ไม่มีขอบเขตได้ไหม ? เราก็จะยิ่งเห็นชัด เพราะตัวไม่ได้กว้างไปตามใจที่ กว้าง ตัวยังนั่งอยู่ที่เดิม ตรงนี้แหละ... พอสังเกตแบบนี้เราจะเห็นว่า ยิ่ง กว้างออกไป แล้วใจรู้สึกอิสระ รู้สึกเบา รู้สึกโล่ง รู้สึกโปร่ง ตัวก็นั่งอยู่ นิ่ง ๆ เหมือนเดิม นั่งอยู่ที่เดิม... พิจารณาว่า แล้วตัวที่นั่งอยู่บอกว่าเป็น เราไหม ? ใจที่ว่างเบาบอกว่าเป็นเราหรือเปล่า หรือบอกว่าเป็นใครหรือ เปล่า ? หรือใจแค่รู้สึกว่าง ๆ โล่ง ๆ เบา ๆ ตัวที่นั่งอยู่ก็แค่นิ่ง ๆ เหมือน สิ่ง ๆ หนึ่งที่ตั้งอยู่ ?
เมื่อรูปนามอันน้ีไม่บอกว่าเป็นใคร จะเรียกว่าเป็นของเราได้ ไหม ? ไม่บอกว่าเป็นเรา-เป็นเขา-เป็นใคร นั่นคือความเป็นอนัตตา ถึง แม้ว่าจะเห็นตัวนี้รูปนี้ร่างกายนี้นั่งอยู่ แต่ก็ไม่ได้บอกว่าเป็นเรา มีแต่รูปมี แต่ตัวที่นั่งอยู่ ตรงนี้แหละคือความเป็นอนัตตา ทีนี้ ลองสังเกตดูว่า ทุก ครงั้ ทเี่ หน็ ถงึ ความเปน็ อนตั ตา เหน็ ความไมม่ เี ราแบบนี้ จติ ใจเปน็ อยา่ งไร ? ทุกครั้งที่เห็นถึงความไม่มีเรา ไม่ได้บอกว่าเป็นเราแบบนี้ จิตใจเป็น อย่างไร... จิตใจมีความวุ่นวาย หรือมีความสงบ ? จิตใจมีความอิสระ มี ความเบา มีความโล่ง หรือหนัก อึดอัด ? นี่แหละคือผลที่เกิดขึ้นโดยตรง จากการเห็นถึงความเป็นอนัตตา
ทีนี้ เมื่อเห็นความเป็นอนัตตาแบบนี้ สิ่งที่ควรพิจารณาต่อไปคือ อะไร ? พิจารณาถึงกฎไตรลักษณ์ เพราะอะไร ? ถ้าเราไม่เห็นถึงความ เปน็ ไตรลกั ษณ์ ความไมเ่ ทยี่ งของอารมณต์ า่ ง ๆ ไมเ่ หน็ การเกดิ ขนึ้ -ตงั้ อย-ู่
157


































































































   159   160   161   162   163