Page 223 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 223

ไม่ใช่ของเรา อันนี้อย่างหนึ่ง ตัวสังขารก็อีกส่วนหนึ่ง...
สงั ขารการปรงุ แตง่ กไ็ มไ่ ดห้ มายความวา่ จะปรงุ แตง่ ตลอดเวลา แต่ ทาหน้าที่ของตนในขณะที่มีเหตุปัจจัยเกิดขึ้นที่ต้องปรุงแต่งก็ปรุงแต่งไป ทาหน้าที่ของตนอย่างซื่อสัตย์ และสัญญากับสังขารส่วนใหญ่ก็อาศัยกัน บางครั้งจึงแยกไม่ออกว่าตัวสัญญาขันธ์กับสังขารขันธ์มีความแตกต่าง กันอย่างไร เพราะฉะนั้น การที่จะพิจารณาเห็นได้แยบคายจึงต้องอาศัย การเจริญสติ-สมาธิ-ปัญญาพิจารณาอยู่เนือง ๆ อย่างต่อเนื่อง ทาให้สติ- สมาธิ-ปัญญาแก่กล้าขึ้นแล้วเห็นชัดถึงความเป็นไปตามธรรมชาติของรูป นามขนั ธห์ า้ เราจะเหน็ ครบทงั้ หา้ ขนั ธว์ า่ รปู ขนั ธก์ บั วญิ ญาณขนั ธแ์ ยกสว่ น กัน รูปขันธ์กับเวทนาขันธ์เป็นคนละส่วนกัน สัญญาขันธ์กับสังขารขันธ์ก็ เป็นคนละส่วนกัน...
เพราะฉะนั้น ลองพิจารณาดูว่า ทาไมพระพุทธองค์จึงทรงตรัสว่า “รูปไม่เที่ยง เวทนาไม่เที่ยง สัญญาไม่เที่ยง สังขารไม่เที่ยง วิญญาณไม่ เที่ยง” แม้แต่ตัววิญญาณขันธ์ที่ทาหน้าที่รู้เอง อันนี้เป็นสิ่งที่ละเอียดและ ลกึ ซงึ้ อยา่ งยงิ่ ตวั วญิ ญาณขนั ธ/์ ตวั วญิ ญาณรทู้ ที่ า หนา้ ทรี่ อู้ ารมณท์ ปี่ รากฏ ทางตาหูจมูกลิ้นกายใจ ถ้าไม่พิจารณาโดยแยบคาย จะเห็นว่าวิญญาณรู้นี้ ไมม่ อี ะไรเปลยี่ นแปลง ไมม่ กี ารเกดิ -ดบั ทา หนา้ ทรี่ อู้ ยตู่ ลอดเวลา... แตถ่ า้ รู้อยู่ตลอดเวลา/เป็นของเที่ยง ก็ขัดกับคาสอนที่พระองค์ทรงตรัสว่า จิต เกดิ ขนึ้ มาทา หนา้ ทรี่ คู้ รงั้ ละขณะ ครงั้ ละอารมณ์ เกดิ ขนึ้ -ทา หนา้ ทรี่ -ู้ ดบั ไป... ถ้าเราไม่พิจารณาโดยแยบคายก็จะไม่เห็นถึงธรรมชาติข้อนี้
ทีนี้ สภาวธรรมเหล่านี้จะปรากฏเกิดขึ้นมาชัดได้ ก็อาศัยการ บ า เ พ ญ็ เ พ ยี ร ป ฏ บิ ตั ธิ ร ร ม ท า ส ต -ิ ส ม า ธ -ิ ป ญั ญ า ใ ห แ้ ก ก่ ล า้ ย งิ ่ ข นึ ้ จ น เ ห น็ ด ว้ ย ตัวเองนั่นแหละ ความลังเลสงสัยในธรรมคาสอนของพระองค์จะหมดไป
219


































































































   221   222   223   224   225