Page 270 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 270

266
ทีน้ี ในขณะท่ีเราเจริญกรรมฐาน การท่ีตามกาหนดรู้ความ เปล่ียนแปลงของลมหายใจ ของอาการพองยุบ หรืออาการเกิดดับของ อารมณ์ใดอารมณ์หน่ึงที่กาลังปรากฏอยู่เฉพาะหน้า ในเม่ือเห็นว่าจิตกับ อารมณ์เหล่าน้ันเป็นคนละส่วนกัน เป็นอนัตตา จิตมีความว่างมีความ สงบแล้ว จาเป็นหรือท่ีจะต้องตามรู้ความเปล่ียนแปลงหรืออาการ พระไตรลักษณ์ของอารมณ์ท่ีปรากฏน้ันต่อไป ? ตอบว่าเป็นความสาคัญ อย่างยิ่ง เพราะว่าการที่จะทาให้จิตของเรามีสติสมาธิที่แก่กล้าขึ้นนั้นก็ ต้องอาศัยอารมณ์ปัจจุบัน และธรรมชาติของจิตเอง การที่จะทาให้อยู่กับ อารมณ์ปัจจุบันได้นาน ๆ ไม่ใช่การยึดว่าต้องเป็นอย่างนี้ตลอดเวลา แต่ เป็นการรับรู้ถึงความเปลี่ยนแปลง/ถึงความจริง
การทเี่ ราจะมสี ตติ ามกา หนดรอู้ ารมณป์ จั จบุ นั ทกี่ า ลงั เกดิ ขนึ้ เฉพาะ หนา้ ไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง กต็ อ้ งใสใ่ จเขา้ ไปกา หนดรถู้ งึ ความเปลย่ี นแปลง การ เกิดข้ึน-ต้ังอยู่-ดับไป อย่างชัดเจนอย่างต่อเนื่อง สมมติว่า ในหน่ึงชั่วโมง มีสติตามกาหนดรู้อารมณ์ท่ีกาลังปรากฏอยู่เฉพาะหน้า รู้ว่ามีการเกิดดับ เปล่ียนไป... ถ้าจิตอยู่กับอารมณ์ปัจจุบันได้หนึ่งชั่วโมง สมาธิก็ตั้งมั่นขึ้น หรืออยู่ได้นานเป็นชั่วโมงเช่นเดียวกัน แต่ในขณะเดียวกัน การสังเกตการ กา หนดรถู้ งึ ความเปลยี่ นแปลงถงึ ความเปน็ ไปนี้ ไมใ่ ชแ่ คท่ า ใหส้ มาธติ งั้ อยู่ ได้นานเป็นชั่วโมงอย่างเดียว แต่ทาให้สติสัมปชัญญะแก่กล้าขึ้น และ ปัญญาก็จะเกิดขึ้นมา
ปัญญาอะไร ? ปัญญาคือการที่ได้เห็นถึงสัจธรรมถึงการเกิดดับ นั่นแหละ ปัญญาตรงนี้ถ้าเราพิจารณาโดยแยบคายยิ่งขึ้นไป การที่สังเกต อาการพระไตรลักษณ์ การเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป รู้ว่าเขาดับมีเศษหรือไม่มี เศษ ดับแล้วเกลี้ยงไป ดับแล้วว่างไป ดับแล้วเงียบไป ดับแล้วสงบไป ดับ


































































































   268   269   270   271   272