Page 269 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 269
สมาธิ ปัญญา พิจารณาธรรมตามที่พระองค์ทรงตรัส นั่นแหละเป็น สิ่งสาคัญ เราพิจารณาอะไร ? พิจารณาถึงธรรมชาติของรูปนามที่กาลัง ปรากฏเกิดขึ้น ณ ปัจจุบัน
เพราะฉะนนั้ การทเี่ ราเรมิ่ ตน้ ดว้ ยการพจิ ารณาถงึ “ความเปน็ คนละ ส่วน” ระหว่างรูปกับนามหรือกายกับใจ นี่คือการค้นคว้าหรือธัมมวิจยะ เพราะนี่คือแนวทางที่พระพุทธองค์ทรงตรัสว่ารูปนามขันธ์ห้านั้นเป็น คนละส่วนกัน รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์นั้นเป็นคนละ ส่วน ไม่ได้เป็นอันเดียวกัน แต่อยู่ที่เดียวกัน อยู่ที่เดียวกันก็คือรูปนาม ที่เราเรียกว่าเป็นคน เป็นเขา เป็นเรานี่แหละ ที่ทาให้บุคคลทั้งหลายที่ยัง ไมม่ ปี ญั ญาเขา้ ไปหลงและยดึ ตดิ วา่ เปน็ เรา เปน็ ของเรา เปน็ ของเทยี่ ง... รปู เป็นของเที่ยง เวทนาเป็นของเที่ยง สัญญาเป็นของเที่ยง สังขารเป็นของ เที่ยง วิญญาณเป็นของเที่ยง เป็นอยู่อย่างนั้นตลอด นั่นก็คือความเข้าใจ อย่างหนึ่ง
แต่พระพุทธองค์ทรงชี้แนวทางในการพิจารณาเพื่อให้บุคคลผู้ ปรารถนาทจี่ ะออกจากทกุ ขไ์ ดเ้ หน็ ถงึ สจั ธรรมความเปน็ จรงิ จงึ เรยี กวา่ เปน็ “สมั มาทฏิ ฐ”ิ ใหเ้ หน็ ถกู ตอ้ งตามความเปน็ จรงิ การทจี่ ะเหน็ ชดั ถงึ ความเปน็ จริงอันเป็นไปเพื่อความดับทุกข์ได้นั้น จึงต้องอาศัยสติ สมาธิ ปัญญา พิจารณาโดยแยบคาย ตามลาดับ ตามลาดับไป... เพราะฉะนั้น เบื้องต้น ทพี่ ดู ถงึ วา่ สมั มาทฏิ ฐทิ เี่ ปน็ ไปเพอื่ ความดบั ทกุ ขน์ นั้ เหน็ อะไรความทกุ ขถ์ งึ จะดับไปได้ ? การที่ได้เห็นถึงความจริง ถึงกฎไตรลักษณ์ ถึงความเป็น อนิจจัง-ทุกขัง-อนัตตานั้นแหละ เห็นถึงความเป็นอนัตตาแล้วความทุกข์ ก็ดับไป
265