Page 290 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 290
286
อย่างที่เราศึกษาว่า รูป-เวทนา-สัญญา-สังขาร-วิญญาณเป็นที่ตั้ง แหง่ อปุ าทาน ไมใ่ ชข่ องเรา เมอื่ เกดิ ขนึ้ มาแลว้ รวมกนั เปน็ รปู รา่ งเปน็ คนเปน็ เราเปน็ เขาขนึ้ มา เพราะนคี่ อื ธรรมชาตทิ เี่ ปน็ ไปตามเหตตุ ามปจั จยั พระพทุ ธ องคท์ รงตรสั ใหผ้ สู้ นใจในธรรมนนั้ “แยก” พจิ ารณาเหน็ ตามความเปน็ จรงิ วา่ รปู นามทเี่ ปน็ อนั เดยี วกนั อยนู่ ี้ จรงิ ๆ แลว้ แตล่ ะอยา่ งแยกสว่ นกนั อยา่ ง ชดั เจน รปู กค็ อื รปู เวทนากค็ อื เวทนา ทา หนา้ ทขี่ องตนอยา่ งชดั เจน สญั ญา ก็ทาหน้าที่ของตน สังขารก็ทาหน้าที่ปรุงแต่ง ทาหน้าที่ของตนอย่างชัดเจน วิญญาณก็ทาหน้าที่รับรู้อารมณ์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสิ่งดีหรือไม่ดีก็ตาม ว ญิ ญ า ณ ข นั ธ ก์ ท็ า ห น า้ ท รี ่ บั ร ท้ ู งั ้ ห ม ด โ ด ย ไ ม เ่ ล อื ก เ ข า ท า ห น า้ ท ขี ่ อ ง ต น อ ย า่ ง ซื่อตรง แต่ก็เป็นคนละส่วนกับรูป เวทนา สัญญา สังขาร
เพราะฉะนั้น การที่เจริญกรรมฐานแล้วพิจารณาถึงความเป็นจริง ศึกษาธรรมะคาสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อให้ได้เห็น ประจักษ์แจ้งด้วยตาปัญญาของตนเองว่า รูปนามขันธ์ ๕ ที่เคยหลงว่า เป็นตัวเราเป็นของเรานั้น จริง ๆ แล้วก็เป็นสภาวธรรมอย่างหนึ่งที่อาศัย การประชุมกันเกิดขึ้นด้วยเหตุปัจจัย เป็นไปตามเหตุปัจจัย และเป็นไป ตามกรรม เพราะพอเกิดมีตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจที่เป็นบัญญัติตรงนี้ ขนึ้ มา ดา รงอยไู่ ดด้ ว้ ยกรรมคอื การกระทา ตา่ ง ๆ เรมิ่ จากการรจู้ กั รบั อาหาร เข้าไปเพื่อหล่อเลี้ยงบารุงธาตุทั้ง ๔ ให้มีกาลังให้มีความเจริญเติบโต ตอ่ ไป มกี ารทา กรรมทางกายทางวาจาทางใจเกดิ ขนึ้ แลว้ กไ็ ปยดึ เอาวา่ เปน็ ตัวเราของเรา
เพราะฉะนั้น ธรรมะที่ปฏิบัติที่เราเอาอารมณ์ทั้ง ๔ อย่างมาเป็น อารมณก์ รรมฐาน คอื การกา หนดรกู้ าย เวทนา จติ ธรรม เพอื่ ทจี่ ะละความ หลงผดิ ความเขา้ ใจผดิ คดิ วา่ เปน็ ตวั เราของเรา เพอื่ ทจี่ ะละการเขา้ ไปยดึ ตดิ