Page 35 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 35

กราบเรยี นวา่ ธมั มจกั กปั ปวตั นสตู ร) อรยิ สจั สี่ - ธรรมะทพี่ ระพทุ ธเจา้ บรรลุ พอย้อนแบบนี้อาจารย์จะเริ่มติดแล้วนะ... ฉะนั้น พวกเรารู้แล้วก็เทศน์ กันเอง! ธัมมจักฯพูดถึงเรื่องไตรลักษณ์ ความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา นั่นแหละ อาจารย์จาได้นิดหน่อย ตรงที่ว่า “ญานัง อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ” ญานัง อุทะปาทิ เมื่อมีปัญญาเกิดขึ้น อาโลโก อุทะปาทิ แสง สว่างก็เกิดขึ้น พอมีสติ ปัญญามา แสงสว่างเกิดขึ้น เหมือนที่เราปฏิบัติ ธรรม เราเจริญสติ มีปัญญาเกิดขึ้นมา พิจารณาการเกิดดับของรูปนาม ที่เปลี่ยนไป จิตเราก็สว่างขึ้น จิตสว่างเหมือนแสงสว่างส่อง เขาเรียก “อาโลโก อุทะปาทิ”
ทพี่ ระพทุ ธเจา้ แสดงธรรมเรอื่ งสดุ โตง่ สองอยา่ งกค็ อื จดุ นี้ สมยั กอ่ น เชื่อว่าบุคคลจะบรรลุมรรคผลนิพพานได้นั้นต้องปฏิบัติอย่างเข้มข้น เครง่ ครดั และตอ้ งวริ ตั มิ าก ๆ ตอ้ งทรมานตนบา เพญ็ เพยี ร คา วา่ “บา เพญ็ เพียร” ต้องทรมานตนเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งยุคสมัยนั้นลัทธิต่าง ๆ ก็บาเพ็ญ เพียรกัน ทรมานตนมากมาย เพื่อปรารถนาที่จะเข้าสู่มรรคผลนิพพาน หรือเพื่อความดับทุกข์ เพื่อละกิเลสอย่างสิ้นเชิง เพราะฉะนั้น เราจะเห็น ว่า ในอินเดียมีลัทธิหรือวิธีคิดต่าง ๆ มากมายหลากหลายมาก ๆ หลาย ศาสนาเกิดขึ้นในอินเดีย
บางคนก็ทรมานตนยืนขาเดียว เอามือชี้ฟ้าหรือชี้ดิน ที่เราเรียกว่า “ โ ย ค ”ี บ า ง ค น ก เ็ อ า ข เี ้ ถ า้ ท า ต วั จ น ด มู อ ม แ ม ม ไ ป ห ม ด บ า ง ค น ก บ็ า เ พ ญ็ เ พ ยี ร ทรมานตัวเองเพื่อที่จะละกิเลส เพื่อหลุดพ้น เพื่อออกจากทุกข์ บางคนก็ ไปอาศัยมูตรคูถเป็นอาหาร บางจาพวกก็ปล่อยวางทั้งหมดเลย ใส่ชุดวัน เกิดอย่างเดียว เขาเรียก “ศาสนาเชน” นี่ก็คือความเชื่อต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นใน ยคุ สมยั นนั้ ความหลายหลายเหลา่ นมี้ เี ยอะ บางคนเชอื่ วา่ คนเราเกดิ มาจาก
31


































































































   33   34   35   36   37