Page 37 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 37

เบียดเบียนตัวเองมากเกินไป ไม่หลงใหลในอารมณ์ที่อยู่ภายนอกมาก เกินไป เหมือนที่เรานั่งอยู่นี่พอเป็นกลางได้ไหม ? ชีวิตเราทุกวันที่ดาเนิน ไป ไมเ่ บยี ดเบยี นตวั เอง ไมป่ รนเปรอตวั เองมากเกนิ ไปในวตั ถตุ า่ ง ๆ หมาย ถึงว่าปรนเปรอเพื่อที่จะพ้นทุกข์ เพื่อที่จะออกจากวัฏสงสาร และเพื่อ นิพพาน ถ้าเป็นอย่างนั้น เป็นไปไม่ได้
แต่การที่เรานั่งอยู่ตรงนี้ ทางสายกลางพอเป็นสัปปายะ ไม่ เบียดเบียนกายให้เกิดความทุกขเวทนามากเกินไปจนทาอะไรไม่ได้ ไม่ เบียดเบียนจิตใจตนเองจนเกิดความเดือดร้อนอึดอัดขัดเคืองมาก เกินไป แล้วเราก็ปฏิบัติได้ ทีนี้มาพิจารณาเรื่องสุขภาพร่างกายของเรา เวลาเราสุขภาพร่างกายแข็งแรง เข้มแข็ง รู้สึกเป็นอย่างไร ? สดชื่น สมอง ปลอดโปร่ง เวลาเราคิดอะไร ปัญญาเป็นอย่างไร ? ปัญญาเราเกิด คล่องแคล่วว่องไว แต่เมื่อไหร่เราเจ็บไข้ได้ป่วยขึ้นมา มีอารมณ์บีบคั้น เข้ามาปึ๊บ ความทุกข์ครอบงา คิดอะไรไม่ออก ได้แต่จมอยู่กับความทุกข์ มีสติแต่ไม่มีกาลัง เพราะร่างกายไม่เอื้ออานวย
ตรงนี้จะเห็นชัดว่าคนที่สุขภาพไม่ดี เจริญพลังเต็มแป๊บเดียว แวบ... เหมือนกับลูกโป่ง ปั๊ม ๆ ๆ ขยาย ๆ พอหยุดปุ๊บมีรูรั่ว ฟื้ดด.. แล้ว ก็ค่อย ๆ แฟบไป มันก็จะเป็นอย่างนั้น คนที่สุขภาพไม่ดีพลังตั้งอยู่ได้ ไม่นาน ถึงกระไรก็ตาม ถ้าเรามีปัญญา ถึงพลังตั้งอยู่ได้ไม่นาน แต่ความ ทกุ ขก์ ไ็ มเ่ กดิ งา่ ย ๆ ความทกุ ขไ์ มเ่ กดิ งา่ ย ๆ เพราะใชป้ ญั ญา ไมไ่ ดใ้ ชก้ า ลงั เมอื่ มปี ญั ญาเกดิ ขนึ้ แลว้ เมอื่ มเี วทนา หรอื มผี สั สะเขา้ มากระทบ กว็ างเฉย เสีย นั่งนิ่ง ๆ ทาใจให้สงบว่าง ๆ ก็ไม่ทุกข์กับเขา เราก็ปล่อยเขาไปก่อน แบบนี้ก็ยังได้ นี่คืออย่างหนึ่งการที่เราดาเนินชีวิตอยู่ในสายกลาง ไม่บีบ คั้นตัวเอง ไม่อัตคัด ไม่ลาบากจนเกินไป
33


































































































   35   36   37   38   39