Page 44 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 44
40
เมื่อก่อนเราใช้คาไม่กี่คา ปัจจุบัน เยอะ! สภาวะเดียวใช้หลายคา อาจารย์ก็ตามใจโยคี ความรู้สึก จิต สภาพจิต แล้วก็ใจรู้ เยอะเลยทีนี้ พอใหจ้ บั ใจรู้ โยคกี จ็ บั ใจรู้ ใจรอู้ ยา่ งเดยี ว มนั เปลยี่ นเปน็ ผดู้ เู รยี บรอ้ ยแลว้ ก็ยังจับใจรู้ อันนี้ก็คือว่าสภาวธรรมเหล่านี้เกิดขึ้น การพิจารณาธรรมการ ศึกษาตรงนี้ทาให้รู้สึกว่า อ๋อ! เข้าใจในธรรมะแล้วคาพูดก็ค่อย ๆ ตามมา โยคีแต่ละคนก็จะมีความหลากหลายแตกต่างกัน ได้เปรียบนิดหนึ่ง ได้เจอโยคีหลายคนมีความแตกต่างกัน สถานะแตกต่างกัน ความรู้ แตกต่างกัน การศึกษาแตกต่างกัน
เวลามาส่งอารมณ์กับอาจารย์ อาจารย์ก็จะฟัง คนนี้เขาพูดยังไง คนนี้เขาพูดยังไง ทาไมเขาใช้ภาษาไม่เหมือนกัน เรื่องเดียวกันทาไมเขาใช้ คา ตา่ งกนั เออ! เขาใชค้ า ไดเ้ พราะนะ เรากเ็ ลอื กคา เพราะ ๆ มาใชบ้ า้ ง เรอื่ ง เดียวกันแต่ก็ใช้คาได้เพราะนะ เราก็เลือกคานั้นมาใช้ ทาให้เริ่มค่อย ๆ เข้าใจความหมายของภาษามากขึ้น ที่จริงแล้ววันก่อนพูดกับโยมการุณ สภาวะนี่ใช้คาต้องตรงนะ คาว่า “องค์ธรรม” ตรงนี้สาคัญมาก ๆ คือเวลา เราปฏิบัติแล้วมีองค์ธรรมรองรับนี่ จะทาให้เราใช้คาพูดได้ตรงกับความ หมาย เคยสังเกตไหม หมายความว่าอย่างไร แปลว่าอย่างไร แต่ถ้าเรามี สภาวธรรมรองรับ จะพูดได้ตรงมาก ใช้คานั้นแหละ
ถามว่า จิตใจรู้สึกอย่างไร ? สุขมากเลย ต้องแปลไหม ? เราใช้คา ว่าสุขมากเลย ไม่ต้องแปลแล้ว ความสุขแปลว่าอย่างไร ? ความสุขก็คือ ความสุข ไม่ต้องแปลแล้ว เหมือนใจว่างมากเลย ใจที่ว่างหมายความว่า อย่างไร ? หมายความว่ามันว่าง หมายความว่ามันไม่ยึด หมายความว่า ไม่คลุกคลีในอารมณ์ หมายความว่าไม่เกาะเกี่ยวในอารมณ์ หมายความ ว่าไม่ถูกพันธนาการด้วยอารมณ์ต่าง ๆ หลายคามากเลย! ถ้าถามว่า ว่าง