Page 64 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 64
60
ส่วนกัน แล้วพิจารณาดูว่า กายเขาบอกว่าเป็นเราไหม ? ใจเขาบอกว่าเป็น เราไหม ?
ที่เคยบอกว่า การตั้งคาถามอย่างนี้ เพื่อที่จะได้เห็นความเป็นจริง ละความเข้าใจผิด ไม่ได้คิดเอาเองว่าเขาบอกว่าเป็นเรา เขาไม่บอกว่าเป็น เรา... แต่การตั้งคาถามเหล่านี้เพื่อให้เขาตอบเรา รูปนามอันนั้นจะตอบว่า อย่างไร - รู้สึกเฉย ๆ ว่าง ๆ ไม่ได้บอกว่าเป็นเรา เฉย ๆ ไม่ได้บอกว่าเป็น ใคร มแี ตค่ วามวา่ งความสงบ พอแยกจากกนั เมอื่ ไหร่ กเ็ ปน็ ความวา่ ง ความ สงบ ความเบา ทาให้จิตใจเบาขึ้นมา แต่ถ้าแค่ “คิด” ว่า กายกับจิตเป็น คนละส่วนกัน แต่ปัจจุบันเป็นอันเดียวกัน...
ถา้ เปน็ อยา่ งนกี้ เ็ ปน็ เพยี งความเขา้ ใจ แตไ่ มเ่ หน็ ถงึ ความจรงิ เขา้ ใจ ตามที่ได้ศึกษา ได้ฟัง ได้อ่าน ได้เรียนรู้มาว่า จิตกับกายย่อมเป็นคนละ ส่วนกัน เพราะจิตเป็นนาม กายเป็นรูป นั่นคือความเข้าใจ ถ้าไม่ “เห็น” ด้วยความรู้สึก ด้วยสติปัญญาที่เป็นปัจจุบันขณะจริง ๆ แล้ว จิตก็ไม่ เปลยี่ น แลว้ กย็ งั รสู้ กึ วา่ เราเปน็ ผรู้ ู้ กย็ งั มเี ราอยดู่ ี ถา้ ยงั ไมเ่ หน็ วา่ เปน็ คนละ สว่ นกนั ไมเ่ รยี กวา่ แยกได้ คอื เปน็ ความเขา้ ใจทถี่ กู แลว้ แตไ่ มส่ ามารถแยก ได้ ไม่สามารถเห็นได้ว่าเขาต่างกันอย่างไร แยกกันแล้วเป็นอย่างไร
การกาหนดรู้เพื่อให้เห็นชัดถึงความเป็นคนละส่วนนั้น เราต้อง บังคับหรือทาอย่างไร ? อันที่จริงแล้วถ้าเราสังเกต เราจะเห็นว่าจิตไม่ได้ อยู่ที่กายตลอดเวลา จิตเขาอาศัยอารมณ์เกิดขึ้น เมื่อมีอารมณ์ใดอารมณ์ หนึ่งเกิดขึ้นก็จะไปรับรู้อารมณ์นั้น เหมือนขณะที่เรากาลังนั่งอยู่นี้ จิตก็ไม่ ไดอ้ ยใู่ นตวั ตลอดเวลา ขณะทไี่ ดย้ นิ เสยี ง จติ กไ็ ปทเี่ สยี ง พอเสยี งจบกก็ ลบั มาที่รูปที่ตัวที่นั่งอยู่ หรือบางครั้งพอเสียงจบไป กลับไปรู้ความคิดต่อ ไม่