Page 66 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 66
62
จิตกับเสียง เขาเป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน ? นี่คือการศึกษา พิจารณาเรียนรู้ความจริง การที่เราเรียนรู้ตรงนี้เป็นการเรียนรู้ความจริง รู้ ถงึ สภาวธรรมจรงิ ๆ ทกี่ า ลงั ปรากฏเกดิ ขนึ้ ทเี่ ปน็ ปจั จบุ นั ขณะจรงิ ๆ โดยที่ ไมต่ อ้ งปรงุ แตง่ ไมต่ อ้ งสรา้ ง ไมต่ อ้ งคดิ แตเ่ ปน็ การเขา้ ไปพจิ ารณากา หนด รู้ถึงสภาวะที่กาลังปรากฏ
การกาหนดรู้ความจริงข้อนี้ จะทาให้เราเห็นชัดเจนแจ่มแจ้งด้วย ตาปัญญาของเราเองว่า จริง ๆ แล้วเป็นอย่างไร ทาไมพระพุทธองค์จึงทรง ตรัสถึงขันธ์ทั้งห้าว่าเป็นคนละส่วนกัน เป็นคนละขันธ์ ๆ ๆ กัน การเห็น ถึงความเป็นคนละขันธ์แล้วอะไรเกิดขึ้น ? อะไรเกิดขึ้น ก็คือผลที่เกิดขึ้น กับสภาพจิตใจของเราเป็นอย่างไร การได้เห็นความจริงข้อนี้ ที่สาคัญคือ เขาเรียก “ละสักกายทิฏฐิ” ความเข้าใจผิด หรือที่เรียกมิจฉาทิฏฐิอีกอย่าง หนึ่ง ความหลงผิดเข้าใจผิด คิดว่าเป็นตัวเราของเรา ว่าเป็นอันเดียวกัน วา่ เปน็ ของเทยี่ งนนั้ จะดบั ไปหายไป จะเขา้ ใจถงึ ความจรงิ วา่ ออ้ ! เปน็ แบบ นี้นี่เอง เป็นความว่าง เป็นคนละส่วน
และยงิ่ พจิ ารณาถงึ สภาวะธรรมชาติ ถงึ กฎของไตรลกั ษณด์ ว้ ยแลว้ ก็ยิ่งมีความชัดเจนยิ่งขึ้น นี่แหละคือการพิจารณาสภาวธรรม ธรรมที่เรา จะใชใ้ นชวี ติ ของเรา - สติ สมาธิ ปญั ญา การทพี่ จิ ารณาแบบนคี้ วบคไู่ ปกบั การเรียนรู้ถึงบัญญัติ ถึงสมมติสัจจะที่เกิดขึ้นรอบตัวเรา จะทาให้เห็นทั้ง สองส่วน “ความจริงโดยสมมติ” ความจริงของโลก ความจริงทางโลกเป็น แบบนี้ แต่ “ความจริงโดยสภาวธรรม” คือความไม่มีอะไร มีความ เปลี่ยนแปลงเกิดดับอยู่เสมอ ไม่มีเรา ไม่มีเขา ความจริงของโลกเป็น อย่างไรให้โลกเป็นอย่างนั้น สาคัญว่าเราจะรับรู้โลกนั้นด้วยจิตแบบไหน