Page 65 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 65

ได้สนใจกายที่นั่งอยู่เลย จากอารมณ์หนึ่งเปลี่ยนไปอีกอารมณ์หนึ่ง จาก เสียงเปลี่ยนไปความคิด จากความคิดกลับมาที่เสียง... นี่เราจะเห็นว่าจริง ๆ แล้วจิตไม่ได้อยู่ที่กายตลอดเวลา
แตท่ า ไมพอใหส้ งั เกตถงึ ความเปลยี่ นไปตา่ งไป ดวู า่ จติ เขาเปน็ สว่ น เดียวกันหรือคนละส่วนกัน เรากลับทาไม่ถูกหรือแยกไม่ได้ ? เพราะว่าเรา พยายาม “บงั คบั ” แยก ถา้ ไปบงั คบั ใหแ้ ยกจะแยกไมไ่ ด้ อนั ทจี่ รงิ แคส่ งั เกต ดูว่า ตอนนี้จิตอยู่ที่ไหน ? เบื้องต้นง่าย ๆ คือ จิตขณะนี้อยู่ที่ไหน - อยู่ที่ เสียง อยู่ที่ตัว อยู่ที่หัวใจ หรืออยู่ในที่ว่าง ๆ ? ถ้าสังเกตแบบนี้เราจะเห็น ว่า บางครั้งจิตก็ไปอยู่ในที่ว่าง ๆ บางครั้งจิตก็ไปอยู่ที่เสียง เมื่อจิตอยู่ใน ที่ว่าง ๆ อย่างนี้ สังเกตดูว่า จิตที่อยู่ในที่ว่าง ๆ กับกายที่นั่งอยู่ เขาเป็น ส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน ?
จิตของเราสามารถเคลื่อนย้ายที่ได้ เพราะฉะนั้น แค่สังเกตแบบนี้ เท่านั้นเอง! เราเรียนรู้ธรรมชาติที่กาลังเป็นอยู่ แต่ไม่ใช่บังคับให้เขาเป็น ไมไ่ ดส้ รา้ งขนึ้ มาใหม่ แตเ่ ปน็ การใสใ่ จสงั เกตถงึ ธรรมชาตจิ รงิ ๆ แคน่ นั้ เอง เมื่อเห็นชัดถึงความเป็นคนละส่วนแล้ว ก็มาสังเกตเปรียบเทียบ จิตที่อยู่ ในที่ว่าง ๆ กับกายที่นั่งอยู่ อันไหนมีกาลังมากกว่ากัน หรืออันไหนกว้าง กว่ากัน ? นี่คือการพิจารณาเป็นขั้นตอนไป การพิจารณาเป็นการแยกกาย แยกจิตเพื่อความชัดเจนมากขึ้น ชัดเจนจนเป็นสมุจเฉท เขาเรียกว่าไม่ เคลือบแคลงสงสัยถึงความเป็นคนละส่วน ความแตกต่างกันระหว่างกาย กับจิตหรือระหว่างรูปกับนาม
เพราะฉะนนั้ เมอื่ เราพจิ ารณาเหน็ กายกบั จติ เปน็ คนละสว่ นกนั แลว้ จติ กบั อารมณอ์ นื่ เขาเปน็ คนละสว่ นกนั ไหม ? จติ กบั ความคดิ จติ กบั เวทนา
61


































































































   63   64   65   66   67