Page 20 - เวทนา
P. 20
14
เห็นเป็นสมุจเฉท จะให้เชื่อว่าจิตที่ท�าหน้าที่รู้กับความปวดเป็นอันเดียวกันนั้นเป็นไปไม่ได้ แล้ว แล้ว แล้ว เพราะได้เห็นด้วยตาปัญญาของตนเอง รู้แล้วรู้อีก จนเห็นชัดว่าไม่สามารถเป็นอันเดียวกันได้
ยกตัวอย่าง หรือเทสีลงไป สีก็คือสี ยังกรองกันออกมาได้ แยกส่วนกันอยู่ดี เพราะฉะนั้น ตรงนี้แหละที่เรียกว่าปัญญาแก่กล้าข้ึน เมื่อเห็นชัดเจนถึง ความเป็นคนละส่วนอย่างส้ินเชิง ความเข้าใจผิดท่ีคิดว่าเป็นส่วนเดียวกัน เป็นอย่างเดียวกัน หรือว่าเป็นของเที่ยง จะถูกตัดออกไป นั่นคืออวิชชา โดยท่ีไม่ต้องไปบอกว่า ฉันจะเชื่อแบบนี้แล้วนะ ฉันจะไม่คิดอย่างน้ันแล้วนะ ไม่ต้องคิดอย่างน้ัน แต่เป็นลักษณะของสภาวธรรมที่เกิดขึ้นชัดเจนว่าอาการของรูปนาม เป็นแบบนี้ เวทนาเป็นแบบน้ี จิตก็เป็นแบบน้ี เป็นคนละส่วนกัน นี่คือ สภาวธรรมที่เกิดขึ้น เพราะฉะนั้น ปัจจุบัน เห็นเวทนามีความเปล่ียนแปลงในลักษณะอย่างน้ีแล้วนี่แหละ ทา ไมพระพทุ ธเจา้ จงึ ถามภกิ ษวุ า่ า่ ควรหรอื ทจี่ ะยดึ วา่ เปน็ เปน็ ตวั เรา เรา เปน็ เปน็ ของเรา
ทา ไมถงึ ไมบ่ อกวา่ เปน็ เปน็ เปน็ ตวั เรา ? เพราะเปน็ อนตั ตา เปน็ เปน็ เปน็ ของไมเ่ ทย่ี ง ง ง ง ง ง คือมีความเปลี่ยนแปลงอยู่เร่ือย ๆ บังคับบัญชาไม่ได้ ให้เป็นอยู่อย่างน้ีตลอด ไม่ได้ ไม่ได้ เด๋ียวเขาก็เปลี่ยนอย่างน้ันเดี๋ยวเขาก็เปล่ียนอย่างน้ี ในเมื่อเห็นชัด ถึงความจริงของเวทนา ว่า ว่า เป็นอย่างน้ีแล้ว ควรหรือท่ีจะเข้าไปยึดว่าเป็นตัวเราของเรา ? ๆ นะ ให้แยบคาย สังเกตให้ดี รู้ให้ชัดเข้าไป ทีนี้เม่ือเห็นถึงความเป็นคนละส่วน