Page 19 - เวทนา
P. 19

13
แต่จริง ๆ นั่นคือสภาวธรรมที่ดีด้วย เป็นสภาวธรรมที่เกิดขึ้นมา เข้าใจว่าเวทนาท่ี เกิดข้ึนมานั้นเป็นอย่างไร และจะได้เห็นว่าเวทนาหรือความปวดอาการคัน ที่เกิดข้ึนมากับจิตท่ีรู้ก็เป็นคนละส่วนกัน เราตามรู้แล้วเห็นว่าเวทนาขันธ์ เปลี่ยนไป ๆ อยู่อย่างนั้น เราจะได้เห็นว่าเวทนานี้บังคับบัญชาไม่ได้ เวทนานี้ เวทนานี้ ไม่ใช่ของเรา เขาเกิดข้ึนตามเหตุปัจจัย เป็นสภาวธรรมปรากฏเกิดขึ้นให้ รูปขันธ์ เวทนาขนั ธ์ ธ์ ธ์ ธ์ ธ์ ธ์ สญั ญาขนั ธ์ ธ์ ธ์ ธ์ ธ์ ธ์ สงั ขารขนั ธ์ ธ์ ธ์ ธ์ ธ์ ธ์ วญิ ญาณขนั ธ์ ธ์ ธ์ ธ์ ธ์ ธ์ เปน็ คนละสว่ นกนั แมแ้ ต่ เวทนาเองถ้าเราสังเกตดี ๆ เวลาปวดก็ไม่คัน เวลาคันก็ไม่ปวด แล้วเกิด คนละขณะกันด้วย ขนาดเป็นเวทนาขันธ์เหมือนกันยังเป็นคนละส่วนกันเลย น่ีคือสภาวธรรมที่เกิดขึ้น แล้วอันไหนที่บอกว่าเป็นตัวเราเป็นของเรา ? ที่เราสวดมนต์ เวทนาสักแต่ว่าเวทนา ไม่ใช่สัตว์ บุคคล ตัวตน เรา เรา เรา เรา เรา เขา ก็เพราะเหตุน้ีน่ีแหละ เพราะฉะนั้น เมื่อได้พิจารณาแบบนี้แล้ว เราจะยึด เวทนามาเป็นของเราไหม ? ทีนี้สังเกตต่อว่า แม้แต่ลักษณะการเกิดการดับของเวทนายังไม่ เหมือนเดิมเลย จากเม่ือก่อนเป็นก้อนแล้วค่อย ๆ ๆ ๆ ปวดขึ้น ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ แต่สักพัก กลายเป็นแปล๊บ หาย หาย หาย แปล๊บ แปล๊บ แปล๊บ หาย หาย หาย แปล๊บ แปล๊บ แปล๊บ หาย หาย หาย คือยังปวดเหมือนเดิม แต่ลักษณะการเกิดการดับของความปวดไม่เหมือนเดิมหรือต่างไป ตรงนี้ แหละเขาเรียก “อนิจลักขณะ” ความไม่เที่ยง การที่สนใจ “ความต่าง” เป็น เป็น วิปัสสนาญาณ เห็นอาการพระไตรลักษณ์ เห็นการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป ของอารมณ์ท่ีปรากฏขึ้นมาน้ันมีความชัดเจนเป็นคนละส่วนเป็นสมุจเฉท เม่ือไหร่ท่ีเห็นเป็นคนละส่วนอย่างสิ้นเชิง เขาไม่ได้เป็นอันเดียวกันเลย ที่เรียกว่า

































































































   17   18   19   20   21