Page 30 - เวทนา
P. 30

24
ความทุกข์ท่ีเกิดข้ึนมาเป็นกลุ่มก้อนก็แบบหน่ึง ความทุกข์ที่เกิดขึ้นมา แค่ขุ่น ๆ ๆ ๆ จาง ๆ ๆ ๆ บาง ๆ ๆ ๆ ไม่ได้โกรธ ไม่ได้หนัก ไม่ได้เป็นก้อนทึบ นั่นก็เป็นอีกสภาวะหนึ่ง เป็นลักษณะของปัญญาที่ เกิดข้ึน เพราะฉะนั้น จึงให้ อาการของความปวด เกิดดับเปลี่ยนแปลงในลักษณะอย่างนี้ ตามรู้จนความปวดนั้นหมดไป หรือหายไปหรือจบไป การเกิดดับของความปวดบัลลังก์น้ีต่างจากบัลลังก์ท่ีแล้วอย่างไร นั่นเป็น จุดที่ผู้ปฏิบัติพึงใส่ใจ
พอเวทนาเกิดขึ้น ให้ ก�าหนดรู้ถึงความเป็นคนละส่วนระหว่างจิตท่ีรู้กับเวทนาหรือความปวดที่ เกิดข้ึน ๆ แล้ว เพราะเหตุนี้นี่แหละ พระพุทธองค์จึงทรงตรัสว่าเป็นคนละขันธ์กัน ความปวดเป็นเวทนาขันธ์ ๆ แบบน้ีเพื่อให้โยคี พิจารณาได้ชัดเจนแจ่มแจ้งด้วยตาปัญญาของตัวเอง ไม่ใช่แค่คิดเอาว่า รู้แล้ว และเม่ือเห็นความเป็นคนละส่วนแล้ว จิตกับเวทนาอยู่ใกล้กัน หรือมีช่องว่างอยู่ห่างจากกันออกไป ? อันที่จริงแล้ว “จิตที่อยู่ใกล้กับความปวด” กับ กับ “จิตที่แยกห่างจากความปวด” มีความแตกต่างกัน เป็นความต่าง สติ-สมาธิแก่กล้าขนาดไหน จิตจึงคลายออกมาและอยู่ห่างเวทนาน้ันได้ ? ? จมอยู่กับเวทนาน้ัน ? 
































































































   28   29   30   31   32