Page 31 - เวทนา
P. 31

25
อันน้ีต้องฟังดี ๆ “จมอยู่กับเวทนา” เหมือนคลุกคลีอยู่กับเวทนา ให้มีสติ เห็นชัดว่าเวทนา แล้วก็เห็นว่าเวทนานั้นมี อาการเปล่ียนแปลงหรือเกิดดับในลักษณะอย่างไร เมื่อผู้ปฏิบัติหรือ ก็จะ ท�าให้ผู้ปฏิบัติน้ันเห็นชัดว่าเวทนาที่เกิดขึ้นน้ันเกิดดับในลักษณะอย่างไร และอาการเกิดดับต่างจากเดิมอย่างไร ตรงนี้แหละท่ีเรียกว่าปัญญาวิปัสสนา หรือภาวนามยปัญญา ปัญญาที่เห็นชัดว่าเวทนาท่ีเคยเห็นเป็นแท่ง เป็นกลุ่ม เป็นก้อน อันที่จริงแล้วข้างในนั้นก็ยังมีการเกิดดับ แล้วเวลา เวทนาเกิดดับ เขาดับแบบเด็ดขาด ดับแบบไม่เหลือเศษ ดับแล้วว่าง ดับแล้วเงียบ ดับแล้วสงบ ดับแล้วสงัดไป หรือดับมืดไป นั่นคือความต่าง ที่โยคีจะเห็นถ้าเข้าไปก�าหนดรู้ถึงลักษณะอาการเกิดดับของเวทนาได้ ชัดเจน ไม่ใช่เข้าไปยึดเวทนาเอาไว้ไม่ให้เปล่ียนแปลง หรือไปผลักไสให้เวทนานั้นไปไกล ๆ ๆ ไม่ให้เกิดข้ึน อาการเกิดดับในเวทนานั้นในแต่ละขณะ แต่ละขณะ แต่ละขณะ ลองฟังดี ๆ ๆ ๆ พิจารณาดี ๆ ๆ ว่าเราไม่ได้เข้าไปดับให้ความปวดนั้นหายไป อาการเกิดดับในความปวดว่าเกิดดับในลักษณะอย่างไร อันน้ีมีเจตนาท่ี แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง คือเข้าไปศึกษาถึง กฎไตรลักษณ์ ถึงความเป็นอนิจจลักขณะ ถึงความเป็นทุกขลักษณะ ถึง ถึง ถึง ถึง ความเปน็ อนตั ตลกั ขณะของเวทนาหรอื ของความปวดทกี่ า า า า า า า า า า า ลงั ปรากฏเกดิ ขึ้นอยู่ 

































































































   29   30   31   32   33