Page 29 - เวทนา
P. 29

23
ต่อเนื่องในขณะท่ีนั่งกรรมฐานอยู่ วันพระที่แล้วอาจารย์พูดถึงเวทนาท่ี เป็นเวทนาสภาวธรรมหรือที่เป็นสภาวญาณ ตามหลักสติปัฏฐาน ๔
เมื่อมี เวทนาเกิดขึ้นมาก็ให้มีสติตามก�าหนดรู้อาการเกิดดับของเวทนา ค�าว่า “เวทนา” มีสองอย่าง คือลักษณะของเวทนาทางกายกับเวทนาทางจิต แต่ อาการของเวทนาทางกายที่ปรากฏขึ้นมาที่ผู้ปฏิบัติพึงแยกพึงก�าหนดรู้ ให้ชัดนั้น ถ้าพูดเป็นภาษาตามอาการที่เกิดขึ้นและรู้ได้ทันทีก็คือ ลักษณะของ ลักษณะของ ลักษณะของ ความปวดอย่างหนึ่ง ลักษณะของอาการคันอย่างหนึ่ง ลักษณะของอาการชา อย่างหนึ่ง อย่างหนึ่ง อย่างหนึ่ง อย่างหนึ่ง ลักษณะของอาการเม่ือยอีกอย่างหนึ่ง ที่ปรากฏเกิดข้ึนที่ ผู้ปฏิบัติสามารถเอามาเป็นอารมณ์กรรมฐานได้
เมื่อย ชา คัน คัน ? ท่ีจริงแล้วไม่ใช่ว่าโยคี ต้องไปจับแยก เพราะเวลามีความปวดเกิดขึ้นมา อาการคันก็ไม่ปรากฏ เวลาอาการคันปรากฏขึ้นมา ก็ไม่ได้เรียกว่าปวด ตรงนี้เป็นคนละอย่างกัน เป็นคนละส่วนกัน เพราะฉะนั้น และอีกอย่างหนึ่งก็คือ ลักษณะของความปวดก็เป็นอีกสภาวญาณหนึ่ง คือปัญญาอีกระดับหนึ่ง การทเี่ รากา หนดรถู้ งึ อาการเกดิ ดบั ดบั ของความปวด ของความปวด เหน็ วา่ ความปวดเกดิ ดบั ดบั ในลักษณะอย่างไร อันนั้นก็เป็นปัญญาญาณอีกญาณหน่ึง กับการรู้สึกถึง อาการคันเต็มไปหมดทั้งตัว น่ันก็เป็นอีกสภาวญาณหนึ่ง “ญาณ” ก็คือ ปัญญาระดับไหนถึงเห็นการเกิดดับของเวทนาที่เกิดขึ้นในลักษณะแบบน้ี เพราะฉะน้ัน ความต่างตรงนี้ถ้าผู้ปฏิบัติแยกได้หรือรู้ชัดก็จะเป็นการดี การแยกได้น้ันดีอย่างไร ? เวทนาที่เป็นความปวดที่เป็นกลุ่มก้อน ที่เป็นแท่ง เป็นเส้น ก็ส่งผลต่อ สภาพจิตใจแบบหนึ่ง เวทนาที่เป็นอาการคันซึ่งเป็นเวทนาที่ทนยากเหมือนกัน แต่ส่งผลต่อสภาพจิตใจอีกอย่างหนึ่ง เวทนาทางจิตก็เช่นเดียวกัน































































































   27   28   29   30   31