Page 20 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 20

2
อย่างไร จะได้รู้ว่าควรจะยึดหรือไม่ยึดอย่างไร หลักของการเจริญวิปัสสนาโดยทั่วไป เรายึดหลักใหญ่ ๆ ก็คือเรื่อง
ของ “สติปัฏฐาน ๔” การเจริญสติปัฏฐาน ๔ ก็มีอารมณ์หลักทั้ง ๔ อย่างให้เรา ได้เจริญกรรมฐาน หรือเป็นที่ตั้งของการเจริญสติของเรา เวลานั่งกรรมฐาน ทุกครั้ง เราต้องมี “เจตนา” มี “ความพอใจ” ที่จะกาหนดรู้อารมณ์ทั้ง ๔ อย่าง ทจี่ ะปรากฏขนึ้ มา ไมว่ า่ จะเปน็ อารมณใ์ ดกต็ าม อารมณท์ งั้ ๔ อยา่ งทจี่ ะปรากฏ ขึ้นแก่นักปฏิบัติเวลาเรานั่งกรรมฐานก็คือ “อาการพองยุบ” เวลาเราหายใจ เข้าหายใจออก อาการกระเพื่อมไหวที่ท้องปรากฏขึ้นมา มีการเปลี่ยนแปลง ตรงนี้เป็นอย่างหนึ่ง
อีกอย่างหนึ่งคือ “ลมหายใจเข้าออก” ใครที่เคยกาหนดอาการ ของลมหายใจเข้าหายใจออก เราก็ตามลมหายใจไป ส่วนใครที่ถนัดกาหนด พองยุบ... ทาไมถึงใช้คาว่า “ถนัด” กาหนดพองยุบ ? เพราะเวลานั่งปฏิบัติ แล้วตามลมหายใจไม่ได้ พอจะตามลมหายใจ พองยุบก็ชัด แต่บางคนตาม พองยุบไม่ได้ อาการของลมหายใจเข้าออกชัดกว่า อันนี้ใช้หลักเดียวกัน ไม่ ว่าพองยุบหรือลมหายใจเข้าออก จริง ๆ แล้วอาการพองยุบที่ปรากฏขึ้นมา ก็ เพราะเราหายใจเข้าหายใจออกนั่นเอง แต่ในขณะเดียวกัน ความชัดเจนของ แต่ละคนนั้น อาจจะชัดเจนในตาแหน่งที่ต่างกัน ตรงนี้เขาเรียกว่า “ดูกายใน กาย” หรือพิจารณาดูอาการของรูปที่มีการเปลี่ยนแปลง
การกาหนดรู้อาการพองยุบหรือลมหายใจเข้าออก ก็ต้องมี “เจตนา” ที่จะกาหนดรู้ถึงการเปลี่ยนแปลง การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ และดับไป ที่เรียก ว่า “การกาหนดรู้อาการพระไตรลักษณ์” คือความไม่เที่ยง ตั้งอยู่ในสภาพเดิม ไม่ได้ บังคับบัญชาไม่ได้ หรือความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ของสภาวะ ที่ปรากฏขึ้นมา เพราะฉะนั้น เวลาเราเจริญกรรมฐาน กาหนดลมหายใจหรือ พองยุบ จึงต้องมี “เจตนา” ตามรู้ถึงการเกิดดับเป็นสาคัญ ไม่ใช่บังคับให้เขา ชัดเท่ากันตลอดเวลา แต่ให้ “รู้ให้ชัด” ตลอดเวลา ว่าเขามีการเปลี่ยนแปลง


































































































   18   19   20   21   22