Page 340 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 340

322
อาจารย์พูดไป พูดถึงตรงนี้แล้ว วิธีปฏิบัติตอนแรก รู้สึกแต่ละคน ลืมหมดแล้ว วิธีกาหนดสภาวะไม่ลืมนะ อืม.. ไม่ลืม ถือว่ามีสมองนอกตัวเนี่ย สมอง (พระอาจารย์มองไปที่เครื่องอัดที่โยคีเอาไปวางอัดบนโต๊ะ) สมองอยู่ ข้างนอกตัว ไม่ต้องพยายามที่จะจา เดี๋ยวก็ไปเปิดใหม่ สมัยนี้สมองอยู่ นอกตวั ไมต่ อ้ งจา อะไร เทคโนโลยมี าจา แทน ใชส้ มองอยนู่ อกตวั คอมพวิ เตอร์ แล้วก็ไปเปิดใหม่ ไปฟังใหม่ แล้วก็ทบทวน แต่ก็ดีนะ จะจาได้หมด เราก็ ไปฟังแล้วก็ทา ทาตาม อันไหนที่เรารู้สึกปฏิบัติแล้วติดขัดแล้วก็ฟัง แล้วอ๋อ... ถ้าติดขัดตรงนี้ แล้วทาอย่างนี้ เราก็ทาตามไป เดี๋ยวก็ดีเอง เดี๋ยวก็ดี
อย่างหนึ่งที่สาคัญสาหรับนักปฏิบัติ ถ้าต้องการให้การปฏิบัติเรา ก้าวหน้ายิ่ง ๆ ขึ้น ไม่ขึ้น ๆ ลง ๆ จุดสาคัญก็คือความเพียร มีตัวฉันทะ มี ความพอใจ มีความเพียร มีวิริยะ ใส่ใจที่จะทา ใส่ใจที่จะพิจารณาสภาวะ อาการที่เกิดขึ้น ตรงนี้ เราพิจารณาให้มาก ทุก ๆ ขณะ ไม่ว่าจะเป็น ยืน เดิน นั่ง นอน เรากาหนดทุก ๆ ขณะ ทุก ๆ เวลา ตรงนั้นแหละ ทาจนเป็นปกติ ของชีวิตเรา เป็นปกติของชีวิตจนรู้สึกว่าไม่มีเวลาไหนเราไม่เจริญสติ เพราะ ฉะนั้นถ้าเรารู้สึกอย่างนั้นเมื่อไหร่ ธรรมะถึงไหนไม่ต้องกังวล ไม่ต้องห่วงแล้ว รู้อย่างสบาย รู้อย่างอิสระแน่นอน รู้อย่างมีความสุขแน่นอน
ตอนนี้เราแสวงหาธรรมะ ต่อไปธรรมะก็ติดตัว เหมือนเรารักษา ศีล ต่อไปศีลก็จะรักษาเรา เรารักษา เขาก็จะดูแลเราเอง เรารักษาธรรม ธรรมก็จะรักษาเรา ธรรมนั่นแหละย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรมเป็นนิจ พระพุทธเจ้าก็ตรัสไว้อย่างนี้ แต่เรานั่นแหละไม่ค่อยได้รักษาธรรม ธรรมเขา พร้อมที่จะรักษาเรา เราไม่ค่อยได้ใส่ใจรักษาธรรม ลืมบ้าง ไม่ใส่ใจบ้าง มอง ข้ามบ้าง ทิ้งบ้าง ปฏิบัติธรรมแล้วจึงไม่รู้ว่าผลเป็นอย่างไร เพราะเราไม่ค่อย ได้ใส่ใจ ถ้าเราใส่ใจปุ๊บ จะเห็นว่าผลของการปฏิบัติธรรมของเราเป็น อย่างไร ดีอย่างไร ดีกับเราอย่างไร ตรงนี้นะ อย่างที่บอกตอนแรกว่าเรา เห็นประโยชน์อะไร เราถึงได้ทาอย่างนี้ ถ้าบอกตัวเองได้ ความเพียรจะ


































































































   338   339   340   341   342