Page 91 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 91

73
มารบกวน สังเกตไหม มันจะได้ตรงที่ว่า จิตเราจะนิ่งขึ้น แต่ก็ตื่นตัว สิ่งที่ต้อง ทาต่อก็คือว่า ขณะที่พองยุบพองออกไปนี่ สังเกตว่าเขาดับไปยังไง ยุบเข้ามา แล้วดับแบบไหน แล้วระหว่างพองออกไปนี่ เขาแค่เป็นเส้น หรือว่าเกิดดับ ในลักษณะยังไง สังเกตแบบนั้น ต่อไปก็จะเปลี่ยนเอง
โยคี (๕) : กราบเรียนพระอาจารย์ค่ะ ที่พระอาจารย์เมตตาแนะนาว่า การปฏิบัติธรรม คือ การกาหนดรู้อาการเกิดดับ แต่ในชีวิตประจาวันของเรา เราไม่สามารถกาหนดอิริยาบถใหญ่อยู่ในห้องพระได้ตลอด อยากขอคา แนะนาจากพระอาจารย์ค่ะ ที่ปฏิบัติอยู่ อย่างเช่น เวลาเดินไปทางาน ก็กาหนด ว่า รู้ รู้ แต่ไม่เห็นว่าเกิดเมื่อไหร่ ดับเมื่อไหร่ ได้แค่รู้ค่ะพระอาจารย์
พระอาจารย์ : ก็ดีแล้ว อยู่ที่ว่าช่วงจังหวะเวลา ที่พูดนี่หมายถึงเวลา เราเจาะสภาวะ แต่ในเวลาทางาน ให้รู้ชัด ในขณะที่เราหยิบจับ เคลื่อนไหว ให้รู้ชัดไปเลย การเจริญสติในอิริยาบถย่อย ให้เรามีสติรู้ชัดในอาการที่เกิดขึ้น ถึงแม้บางครั้งจะไม่เห็นอาการเกิดดับก็ตาม นั่นก็คือ การปฏิบัติธรรม การ เจริญสติของเรา แล้วถ้าทาจิตให้ว่างได้ ยกจิตขึ้นสู่ความว่างได้ ให้จิตที่ว่าง มาคลุมให้กว้างกว่าตัว แล้วก็สังเกตจิตเรา ดูสภาพจิตกับอาการในอิริยาบถ ย่อย
จริง ๆ จะให้ละเอียดขึ้นก็คือ ดูต้นจิต สภาพจิต แล้วก็อาการ สังเกต แบบนี้ ไม่ต้องห่วงว่าจะเห็นอาการเกิดดับหรือไม่ เมื่อไหร่ก็ตามที่สติเรา มีกาลัง เขาจะปรากฏเอง บางคนขณะที่วิ่งออกกาลังกาย เขายังรู้สึกได้ วิ่ง วิ่งไป ตัวหาย เท้าหาย ทาไมถึงหาย ? คือสังเกตไปทุก ๆ อาการ โดยที่ไม่ ต้องไปกังวลว่านี่เป็นการปฏิบัติธรรม ให้ทาเป็นเรื่องปกติธรรมดาของชีวิตเรา นั่นก็คือการปฏิบัติธรรม
โยคี (๕) : ขอบพระคุณพระอาจารย์ค่ะ
พระอาจารย์ : หวังว่าพวกเราจะเข้าใจมากขึ้น เมื่อกี้ที่ถามว่า ในชีวิต


































































































   89   90   91   92   93