Page 21 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การยกจิตขึ้นสู่ความว่าง
P. 21
17
เราใช้ความสุขแล้วก็ต่อเหมือนตอนกลางวันเลย เราพิจารณาอาการเกิดดับ เอาจิตที่สุขที่สบายแล้ว มารู้อาการเกิดดับ ของอารมณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ดูอย่างมีความสุข แทนที่จะตามรู้อย่างเครียด กาหนด อย่างกังวลว่าทันไม่ทัน ได้...ไม่ได้แบบนี้ก็เครียดแล้ว แต่ถ้ามีความสุขปุ๊บ เห็นเขาดับแล้วนะเกิดแล้วนะ ดับแล้วนะ เกิดแล้วนะดับแล้วนะ เออ!ดับไปแล้วจิตรู้สึกสบายขึ้น ยิ่งดับสั้นลงเรื่อย ๆ จิตใสขึ้น นี่คือ การปฏิบัติ
ต่อไปก็จะคล่องตัวขึ้นสบายขึ้นเยอะ งั้นลองทบทวนดูนะชัดขึ้นนะ คราวหน้ามาก็ทบทวนแบบนี้ อีกนั่นแหละนะ จะได้ชัดขึ้นอีก คราวหน้ามาก็เหมือนกับคราวนี้รู้สึกเป็นอย่างไร ทันไหม ทันนิดหนึ่งนะ หลัง ๆ นี่ จะไม่ทัน แต่ว่าพอออกมาทันได้เป็นบางช่วงรู้สึกเบาขึ้น ตรงนี้สังเกตบางครั้ง ใหม่ ๆ นี่นะ อาจ จะไม่ชัดเจน คล้าย ๆ บางครั้งรู้สึกว่าคล้าย ๆ แต่มันจะว่าไม่ใช่ จะว่าไม่เห็นก็ไม่ใช่ จะว่าเห็นก็ไม่แน่ใจ แต่รู้สึกมันคล้าย ๆ
ถ้าเป็นแบบนั้นให้ทาซ้า ๆ นั่นคือการพิสูจน์ ให้ทาซ้า ๆ ซ้า ๆ จนเราชัด ธรรมะทนต่อการพิสูจน์ เราพิสูจน์ด้วยตัวเราเอง ด้วยการทาด้วยตัวเราเอง นั่นคือสิ่งสาคัญ เราจะได้รู้ว่า อ๋อ! ทาไมพระพุทธเจ้า ถึงตรัสว่าเป็นปัจจัตตังใครทาใครได้ ใครทาใครได้ใครเข้าถึงคนนั้นก็เป็น เราทาเราเข้าถึงเหมือนเราเข้าถึง ความสุข เรานั่นแหละเป็นผู้สุขก่อน คนอื่นเขาก็สุขตาม ได้รับอานิสงส์ตามถ้าเรามีความสุข เป็นอย่างนั้น เข้าใจขึ้นแล้วนะ เดี๋ยวต่อไป... ทีนี้พอทาแบบนี้ได้แล้ว เดี๋ยวนั่งสมาธิต่อเลยหมดอะไรจะพูดแล้ว
เรามาปฏิบัติกันต่ออีกนิดหนึ่ง นั่งสมาธิปฏิบัติเจริญภาวนากัน การเจริญภาวนาด้วยการปฏิบัติ แบบนี้ ให้ต่อจากที่เราฟังเมื่อกี้นี้นะ ต่อจากที่เราฟัง เราต่ออย่างไรต่อจากตรงที่ว่า เมื่อกี้นี้เราทาใจของเรา ให้มีความสุข ทาใจของเราให้มีความสุขให้กว้างให้เรารู้สึก แล้วก็นั่งอยู่ในความสุข ให้รู้รอบ ๆ ตัว ที่เต็ม ไปด้วยความสุขเราก็รู้สึก ให้นั่งอยู่ในความสุขนั่นแหละไม่ต้องเปลี่ยนใหม่ สังเกตต่อไปเลย ให้มีความ สุขรองรับ รองรับจุดกระทบระหว่างตัวกับพื้น ระหว่างตัวกับเก้าอี้ เหมือนเรานั่งอยู่บนความสุข แต่ก็ไม่ ต้องเกร็งไม่ต้องไปบังคับ ให้รู้สึกสบาย ๆ แค่สังเกตให้รู้สึกว่าเรานั่งอยู่ในท่ามกลางความสุข จากนั้นก็มา พิจารณาอาการที่ปรากฏขึ้น อาการที่ปรากฏขึ้นที่เป็นอารมณ์ปัจจุบัน เพียงแต่ว่าอารมณ์ปัจจุบันของเรา ขณะนี้คืออะไร เป็นลมหายใจ หรือเป็นอาการพองยุบ หรือเป็นอาการเกิดดับ เป็นสีเป็นแสงที่ปรากฏขึ้น ข้างหน้า จะเป็นอาการวุบวับยิบยับหรือวูบวาบขึ้นมา อาการตรงนี้เป็นอาการเกิดดับที่ปรากฏขึ้นมา ถ้าเป็น อย่างนี้ ก็ให้มีเจตนาตามกาหนดรู้อาการนั้นไป ตามรู้การเปลี่ยนแปลงการเกิดดับนั้นไปจนกว่าเขาจะหมด จนกว่าจะสิ้นสุดหรือจนกว่าจะว่างไปหายไป
อย่างเช่น ถ้าตามรู้ลมหายใจก็อย่างที่บอกแล้วว่า ตามรู้ให้ละเอียดขึ้น ตามรู้จนลมหายใจหายไป หมดจนวา่ งหมดเลย จงึ เรยี กวา่ วา่ งจรงิ ๆ ทนี พี้ อลมหายใจวา่ งไป ถา้ มคี วามคดิ เกดิ ขนึ้ มา เรากต็ ามรอู้ าการ เกิดดับของความคิดต่อไป ว่าเขาเกิดดับในลักษณะอย่างไร จากช่วงกลางวันที่ผ่านมา เรารู้ทันแบบนั้น ตอนนเี้ รารทู้ นั มากขนึ้ ไหมเรว็ ขนึ้ ไหม ความคดิ อาการเกดิ ดบั ของความคดิ ชดั มากขนึ้ ไหม เหน็ ชดั มากขนึ้ ไหม เขามีแล้วดับมีแล้วหมดไป และทุกครั้งที่เราเห็นว่าความคิดเกิดแล้วดับ เกิดแล้วหมดไปนี่นะ จิตเรารู้สึก