Page 47 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การยกจิตขึ้นสู่ความว่าง
P. 47
หลักการปฏิบัติธรรม
ณ บ้านสวนน้า เขาฉกรรจ์ จ.สระแก้ว วันที่ ๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
ปนี กี้ เ็ ปน็ อกี ปหี นง่ึ ทไี่ ดม้ าเจอกบั โยคี บางคนกเ็ คยเจอกนั เมอื่ ปที แี่ ลว้ ปนี กี้ ม็ าเจอกนั อกี ครงั้ หนงึ่ มา ปฏิบัติธรรมร่วมกัน นั่งสบาย ๆ แต่อย่าเพิ่งหลับ ก่อนอื่นขอทบทวนเรื่องการปฏิบัตินิดหนึ่ง เรามาเจริญ กรรมฐานนั่งสมาธิปฏิบัติธรรม โดยปกติเราก็ต้องมีหลักให้กับจิตตนเอง จิตของเรามักจะไม่ค่อยอยู่กับรูป อยู่กับตัวเท่าไหร่ เดี๋ยวว่ิงไปเดี๋ยวว่ิงมา จิตเราก็จะไม่สงบ เพราะฉะน้ัน เราก็ต้องมีอารมณ์หลักให้กับจิต ของเราได้ตามรู้ อารมณ์หลัก ๆ ท่ีจะให้สติเราตามรู้ เขาเรียกว่าสติปัฏฐานสี่ มีอยู่สี่อย่างที่เป็นท่ีต้ังของการ เจริญสติของเรา สี่อย่างนี้เขาจะเกิดข้ึนเวลาเรานั่งสมาธิหรือเดินจงกรม
หลักของสติปัฏฐานสี่ คือ ดูกายในกาย รู้เวทนาในเวทนา ดูจิตในจิต และรู้ธรรมในธรรม เร่ิมต้น ต้ังแต่ลมหายใจเข้า-ออกของเรา ลองหลับตาลง แล้วทาใจให้สบาย ๆ ทาใจเบา ๆ ว่าง ๆ ไม่ต้องเครียด แลว้ ก็มสี ตติ ามรลู้ มหายใจเขา้ -ออกของเรา สงั เกตดู เวลาหายใจเขา้ ยาวกใ็ ห้รวู้ า่ ยาว ตามไปจนสดุ แลว้ พอ หายใจออก ก็มีสติตามรู้ตั้งแต่เริ่มจนออกไปจนสุด การตามสังเกตอาการของลมหายใจในลักษณะอย่างนี้ ตรงนี้เขาเรียกว่าเป็น “อารมณ์หลัก” ให้กับจิตเราได้เกาะได้ตามรู้ เพื่อที่จะทาให้จิตเรามีความสงบ
ธรรมชาติของจิตเรา ถ้าไม่มีอะไรให้ตามรู้เขาก็จะหาเร่ือง เดี๋ยวจะไปรู้เร่ืองนั้นเร่ืองนี้สารพัด ทาให้ สับสนวุ่นวาย ทาให้เรารู้สึกว่าน่ังไม่ติด สติไม่อยู่กับเนื้อกับตัว จิตไม่อยู่กับเน้ือกับตัว แต่ถ้าเรามีอารมณ์ หลักให้จิตรับรู้ จิตก็จะอยู่กับอาการ เมื่อจิตอยู่กับอารมณ์หลักหรืออยู่กับอารมณ์เดียวอยู่นาน ๆ สมาธิ ก็จะค่อย ๆ ดีขึ้น ค่อย ๆ สงบข้ึน เพราะฉะนั้น เริ่มต้นด้วยการดูลมหายใจเข้า-ออก เราตามรู้ลมหายใจ เข้า-หายใจออกให้ชัดเจน ตั้งแต่เริ่มจนลมหายใจนั้นหมดไป หายไป เกลี้ยงไปเลย ว่างไปหมดเลย ตรงนี้ เขาเรียกว่าตามรู้จนลมหายใจเขาหมดไป อันน้ีอย่างหนึ่ง
อีกอย่างหนึ่งก็คือว่า เม่ือลมหายใจหมดไป แล้วใจมันสงบมันว่าง แป๊บเดียวรู้สึกถึงอาการเต้นของ หัวใจหรือชีพจรที่เกิดขึ้นมา มีอาการตึ๊บ ๆ ๆ เป็นจังหวะของหัวใจบริเวณหน้าอกเรา เราก็ตามรู้อาการเต้น ของหัวใจไปเร่ือย ๆ จนเขาหมดไป การตามรู้อาการเต้นของหัวใจจนหมดไป ไม่ใช่ว่าอาการเต้นของหัวใจ
43