Page 49 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การยกจิตขึ้นสู่ความว่าง
P. 49
45
แล้วหายไปบงัคบับญั ชาใหอ้ยอู่ยา่งนี้ตลอดไปกไ็มไ่ด้ไมว่า่จะเปน็ความสขุหรอืความทกุข์เขากเ็กดิขนึ้-ตงั้ อยู่-ดับไป ความทุกข์เกิดขึ้นมา เดี๋ยวเขาก็หายไป ไม่ได้อยู่กับชีวิตเราตลอดเวลาหรอก เดี๋ยวความสุขก็จะ กลับเข้ามาหาเรา แต่ความสุขก็ยึดไม่ได้อีก เดี๋ยวเขาก็จะเปลี่ยนไป สลับสับเปลี่ยนเวียนกันไป
เพราะฉะนั้น การที่เราฝึกด้วยการใส่ใจตามรู้การเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไปของทุก ๆ อารมณ์ เป็นการ ฝึกสังเกตถึงสัจธรรมถึงกฎไตรลักษณ์ของทุกอย่างที่เกิดขึ้นในโลกนี้ในชีวิตของเรา อย่างเช่น เราเริ่มจาก ลมหายใจเข้า-ออกที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ ลองดูสิว่า ลมหายใจเรายาวเท่ากันตลอดไหม ลมหายใจชัดเท่า เดิมตลอดไหม ลมหายใจสั้นเท่าเดิมตลอดไหม หรือมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เรื่อย ๆ ? เวลาปวดก็เหมือนกัน มีความปวดมีเวทนาเกิดขึ้น สังเกตดูสิว่า ความปวดมันอยู่อย่างนั้นไหม นิ่งอยู่อย่างนั้นตลอดหรือว่ามีการ เปลี่ยนแปลง ? มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร เรายึดเขาได้ไหม ห้ามไม่ให้ปวดได้ไหม หรือว่าเป็นอย่างไร ? นี่คือการพิจารณาสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ๆ จะทาให้เราเกิดปัญญา
ปญั ญาตรงนเี้ ปน็ ปญั ญาทเี่ ราไดเ้ หน็ เอง ไมใ่ ชเ่ ราคดิ เอา เปน็ ปญั ญาทเี่ กดิ ขนึ้ จากการไดร้ ไู้ ดเ้ หน็ ดว้ ย ตัวเองจริง ๆ เราจะได้มั่นใจว่า อ๋อ! เขาเป็นอย่างนั้นจริง ๆ ไม่ใช่สิ่งที่เราคิดเอาหรือมโนเอา มันเป็นเรื่อง ของชีวิตของเรา เรื่องการเปลี่ยนแปลง เรื่องธรรมชาติ เพราะฉะนั้น การที่เรามีอารมณ์หลักให้กับจิตของ เราในเบื้องต้นเป็นสิ่งสาคัญมาก ๆ ถ้าสติเราอยู่กับปัจจุบัน แล้วสติดีขึ้น สมาธิดีขึ้น ปัญญาก็จะแก่กล้าขึ้น สภาวธรรมที่เกิดขึ้นก็จะชัดเจน เราเห็นชัดตามความเป็นจริงมากขึ้น นี่แหละเป็นสิ่งสาคัญที่เราต้องทาเรา ต้องฝึก ฝึกพัฒนาสติ-สมาธิ-ปัญญาของเราให้เห็นความเป็นจริง
เมื่อเห็นความเป็นจริงก็เป็นการพัฒนาจิตวิญญาณของเรานั่นแหละ อะไรที่เคยแบกเอาไว้ที่ทาให้ เรามีความหนักอึ้งอยู่ทุกวัน ? เราแบกสิ่งที่มองไม่เห็น คือแบกความรู้สึก แบกอุปาทาน แบกตัวตน... วัตถุ ต่าง ๆ ก็วางอยู่ตามตาแหน่งของเขา แต่จิตเรานี่แบกอะไร ? แบกความรู้สึก แบกความคิด แบกอุปาทาน แบกความเป็นเรา จึงเกิดความรู้สึกหนักอยู่ เพราะฉะนั้น การที่เรามีสติตามกาหนดรู้ถึงลมหายใจเข้า- ออกว่ามีการเปลี่ยนแปลง เราจะเห็นความเป็นอนิจจังตรงนี้ เมื่อเห็นความเป็นอนิจจัง มีสติชัดเจนมากขึ้น สังเกตดูนะว่า ลมหายใจเข้า-ออกกับจิตหรือกับสติที่ทาหน้าที่รู้ เขาเป็นส่วนเดียวกันไหม หรือเป็นคนละ ส่วนกัน ?
สตหิ รอื จติ กท็ า หนา้ ทรี่ บั รไู้ ป ลมหายใจเขา้ -ลมหายใจออกกท็ า หนา้ ทขี่ องตนไป แลว้ ตรงไหนบอกวา่ เปน็ เราเปน็ ของเรา ? เราหา้ มไมใ่ หห้ ายใจกไ็ มไ่ ด้ ใหห้ ายใจเรว็ ๆ ลกึ ๆ ตามทอี่ ยากกไ็ มไ่ ด้ กต็ อ้ งคอ่ ย ๆ ฝกึ ค่อย ๆ พัฒนาไปเพื่อให้เกิดความชานาญหรือเพื่อให้สติเราแก่กล้าขึ้น เพราะฉะนั้น ตอนที่เรานั่งกรรมฐาน ขอให้ทาอย่างนี้ มีสติตามรู้อยู่กับอารมณ์ปัจจุบัน เริ่มจากการตามรู้ลมหายใจเข้า-ออกหรืออาการพองยุบ แต่พอนั่งไปสักพัก มีความปวดหรือมีเวทนาขึ้นมา ก็มีสติตามกาหนดรู้อาการปวดหรือเวทนานั้นทันที เข้าไปรู้ต่อเลยว่าความปวดที่เกิดขึ้นมามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร มีการเกิดดับอย่างไร อันนี้อย่างหนึ่ง
อารมณห์ ลกั อกี อยา่ งหนงึ่ กค็ อื เรอื่ งของจติ ในทนี่ จี้ ะพดู ถงึ เรอื่ งของจติ ในเบอื้ งตน้ กค็ อื ความคดิ เวลา เรานงั่ กรรมฐานนงั่ สมาธแิ ลว้ มคี วามคดิ เกดิ ขนึ้ มา เดยี๋ วคดิ ไปทโี่ นน่ ทนี่ เี่ รอื่ งโนน้ เรอื่ งนตี้ ลอดเวลา ทา ใหเ้ รา