Page 48 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การยกจิตขึ้นสู่ความว่าง
P. 48

44
เราหยุดไปไม่เต้นอีกแล้ว ไม่ใช่อย่างนั้น! การตามรู้จนหมดไปแสดงว่าอาการเต้นของหัวใจเขาละเอียดขึ้น เขาเบาลง สติเราดีขึ้น หรือสมาธิเราดีขึ้น อาการเหล่านี้เขาก็จะน้อยลง ๆ ไป นี่คือสภาวธรรมเบื้องต้นที่เรา ต้องใส่ใจให้เป็นอารมณ์หลัก เมื่อสติอยู่กับอารมณ์ปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง สมาธิก็จะเกิดขึ้นมา
อีกอย่างหนึ่ง นอกจากลมหายใจเข้า-ออก นอกจากอาการเต้นของหัวใจ บางคนหายใจเข้าท้องพอง ออก หายใจออกท้องยุบลง ตรงนั้นเขาเรียกว่าอาการพองยุบ ที่เราเคยปฏิบัติกัน เวลาหายใจเข้าพองออก ก็มีสติตามรู้พองจนสุด หายใจออกท้องยุบลง ก็ตามจนเขายุบจนหมดไป ตามสังเกตแบบตามลมหายใจ เข้า-ออกนั่นแหละ ตามรู้จนอาการพองยุบหมดไป ดูการเปลี่ยนแปลง เขาพองยาว ๆ หรือพองสั้น ๆ ยุบ ยาว ๆ ยุบลึกลงไป ลึก ลึก ลึกลงไป ก็ตามรู้จนหมดไป ถ้าพองยาว พอมันขยายออกกว้างไปเรื่อย ๆ ก็ตาม รู้จนเขาจบ นี่คืออารมณ์หลักสาคัญที่จะเกิดขึ้นที่เราต้องตามรู้ในขณะที่เรานั่งสมาธินั่งกรรมฐาน
แล้วอีกอย่างหนึ่งคือ ความเย็น ความร้อน อาการเคร่งตึง ความหนัก ความเบา ที่เกิดขึ้นตาม ร่างกายของเรา เวลามีความร้อนเกิดขึ้น มีสติตามกาหนดรู้ว่าความร้อนมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร มีความ เย็นเกิดขึ้นมา ก็มีสติตามกาหนดรู้ว่าความเย็นนั้นเขาเปลี่ยนอย่างไร มีอาการเคร่งตึงตามร่างกายของเรา เช่นที่หลังหรือว่าที่หน้า บางครั้งพอมีสมาธิมากขึ้นก็เหมือนที่หน้าผากเราจะตึง ๆ ก็มีสติเข้าไปรู้อาการเคร่ง ตงึ วา่ เขาเปลยี่ นอยา่ งไร เขาหายอยา่ งไร... อนั นคี้ อื ตามรกู้ ารเปลยี่ นแปลง ตรงนเี้ ขาเรยี กวา่ ตามรอู้ าการของ กาย เขาเรียก “ดูกายในกาย”
ทนีี้“อาการของเวทนา”การตามรเู้วทนาในเวทนาเปน็อยา่งไร?เวลาเรานงั่กรรมฐานไปแลว้เกดิรสู้กึ มีความปวดขึ้นมา ปวดหลัง ปวดเข่า ปวดไหล่ ปวดตาแหน่งไหนก็ตามที่ร่างกายของเราที่เกิดขึ้นมา อันนี้ เปน็ เวทนาทางกาย เวทนาทางกายนอกจากความปวด กม็ อี าการเมอื่ ยตามรา่ งกาย อาการชา อาการคนั เมอื่ มีอาการเจ็บ มีความปวด มีอาการเมื่อยเกิดขึ้นตามร่างกาย หน้าที่ของผู้ปฏิบัติคือมีสติตามรู้ว่าความปวด ที่เกิดขึ้นความเมื่อยที่เกิดขึ้นมีการเปลี่ยนแปลงเกิดดับอย่างไร เขาเรียกรู้กฎไตรลักษณ์ คือการเกิดขึ้น- ตั้งอยู่-ดับไป หรือความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตานั่นเอง
การเข้าไปกาหนดรู้ถึงการเกิดข้ึน-ตั้งอยู่-ดับไปเป็นหลัก นี่คืองาน เวลาเรานั่งกรรมฐานนั่งสมาธิ เราจะได้รู้ว่าเราต้องทาอะไรบ้าง ไม่ใช่นั่งหลับตาหายใจไปเรื่อย เฉย ๆ แล้วก็ไม่ได้อะไรเลย นั่งหลับตาแล้ว เดี๋ยวก็คิด เดี๋ยวก็มีเวทนา เดี๋ยวลมหายใจชัดบ้างไม่ชัดบ้าง เดี๋ยวก็หลับ! ตื่นขึ้นมาสดชื่น...ได้ตื่นหนึ่ง! ไม่ ไดอ้ ะไรเลย ไดห้ ลบั อยา่ งเดยี ว! เพราะฉะนนั้ เราตอ้ งรวู้ า่ เวลาเรานงั่ กรรมฐานนงั่ สมาธิ เราตอ้ งทา อะไร ไมใ่ ช่ นั่งเฉย ๆ เพราะถ้าเรานั่งเฉย ๆ ปัญญาก็ไม่เกิด เมื่อปัญญาไม่เกิด สมาธิไม่มี สติไม่เกิดขึ้น ถามว่า เราจะ แก้ปัญหาชีวิตเราได้อย่างไร ? เวลามีความทุกข์ขึ้นมา เราจะดับความทุกข์ได้อย่างไร ?
เป้าหมายของการปฏิบัติธรรม คือการเพิ่มสติ สมาธิ ปัญญาเพื่อแก้ปัญหาแก้ความทุกข์ที่เกิดขึ้น กบั ชวี ติ ของเรา ไมว่ า่ จะเปน็ ความทกุ ขท์ เี่ กดิ ขนึ้ จากความคดิ การเหน็ การไดย้ นิ หรอื การกระทาตา่ ง ๆ การ มีสติรู้อยู่กับปัจจุบัน การที่เรารู้ถึงการเปลี่ยนแปลงถึงการเกิดขึ้น-การตั้งอยู่-การดับไปของทุก ๆ อารมณ์ เป็นการฝึกให้จิตเราได้เห็นความจริง แล้วเขาจะรู้ถึงสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ๆ ว่าเกิดแล้วดับไป มีแล้วหมดไป มี


































































































   46   47   48   49   50