Page 67 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การยกจิตขึ้นสู่ความว่าง
P. 67
63
แล้ว วิปัสสนานี่นะ เราตามความเปลี่ยนแปลง การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ ดับไป ของลมหายใจเข้าออก อันนี้ คือพิจารณาอาการพระไตรลักษณ์
แต่อีกจุดหนึ่ง ที่สาคัญที่สุดนะ ที่เราบอกว่า พอเราพิจารณาแล้วนี่นะ คือสังเกตว่าจิตที่ทาหน้าที่รู้ ที่บอกให้ยกจิตเพ่ือแยกจิตจากกาย จิตที่ทาหน้าที่รู้กับลมหายใจเข้าออก เขาเป็นส่วนเดียวกันหรือคนละ ส่วนกัน จิตที่ทาหน้าที่รู้กับอาการของพองยุบ เป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน ตามหลักวิปัสสนา ถ้า จะสังเกตให้สังเกตตรงนี้ เพราะอะไร นี่คือปัญญาในเบื้องต้น ที่เรียกว่า การกาหนดรู้ถึงรูปนาม อาการของ รูปนาม รูปกับนาม คืออาการทางกาย กับจิตที่ทาหน้าที่รู้ เขาเป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน
ปญั ญาตรงนเี้ ปน็ สงิ่ สา คญั วา่ เราจะไดเ้ หน็ ถงึ สจั ธรรม สจั ธรรมอยา่ งหนงึ่ ทพี่ ดู ถงึ เรอื่ งของขนั ธ์ รปู ขันธ์กับนามขันธ์ เขาเรียกว่าวิญญาณขันธ์กับรูปขันธ์นั้น ต่างกันอย่างไร วิญญาณขันธ์ คือจิตที่ทาหน้าที่ รับรู้อารมณ์ต่าง ๆ ในเมื่อขณะนี้ เรากาลังตามรู้ลมหายใจ ก็ต้องสังเกตว่า ลมหายใจที่เกิดขึ้นกับจิตที่ทา หนา้ ทรี่ ู้ เขาเปน็ สว่ นเดยี วกนั หรอื คนละสว่ น อนั นเี้ ปน็ เบอ้ื งตน้ ทสี่ า คญั เพราะฉะนนั้ ทกุ ครงั้ ทเี่ รานงั่ กรรมฐาน ถ้าสังเกตตรงนี้ พอสังเกตว่า จิตที่ทาหน้าที่รู้กับลมหายใจเข้าออก เป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน ต่อ จากเมื่อกี้นี้ว่า เมื่อเห็นอย่างนี้ กาหนดซ้า ๆ ๆ ๆ
ทาไมถึงต้องซ้า สาคัญมาก ๆ คือการรู้ซ้า รู้ให้ชัดเจน ให้คลาย ให้เคลียร์ ไม่ให้เกิดความสงสัยว่า จติ ทรี่ กู้ บั ลมหายใจ เปน็ สว่ นเดยี วกนั หรอื คนละสว่ นกนั เหน็ ชดั แจม่ แจง้ ดว้ ยตวั เราเอง วา่ จรงิ ๆ แลว้ ทาไม พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่า รูปกับนามนั้นถึงเป็นคนละส่วนกัน ถึงเป็นคนละส่วนกัน เพราะเขาหน้าที่ของตน ๆ อย่างชัดเจน อาศัยกันก็จริง แต่ทาหน้าที่คนละอย่างกัน...อย่างชัดเจน ตรงนี้แหละ ปัญญาตรงนี้จึงจะเห็น พ อ ป ญั ญ า เ ห น็ ต ร ง น ี ้ ท นี เี ้ ม อื ่ ร ปู น า ม เ ป น็ ค น ล ะ ส ว่ น ก นั ไ ม ใ่ ช แ่ ค จ่ ติ ท ที ่ า ห น า้ ท รี ่ ้ ู ก บั ล ม ห า ย ใ จ เ ป น็ ค น ล ะ ส ว่ น กัน ต่อไปสังเกตว่า จิตที่ทาหน้าที่รู้กับตัวที่นั่งอยู่ เขาเป็นคนละส่วนกันด้วยไหม นี่คือการพิจารณา ไม่ใช่ แค่กับลมหายใจนะ จิตที่ทาหน้าที่รู้กับตัวที่นั่งอยู่ เขาเป็นคนละส่วนกันด้วยไหม
ที่อาจารย์พูดอยู่นี่นะ อย่าเพิ่งสับสนนะ โยคีแต่ละคนยกจิตขึ้นสู่ความว่างได้นี่นะ พอว่างปื๊บตอบ ไดเ้ ลย โอ!จติ ทวี่ า่ งเบากบั ตวั เปน็ คนละสว่ นกนั กค็ อื จดุ นนั้ นนั่ แหละ จติ ทวี่ า่ งเบา จติ ตรงนนั้ แหละ พอแยก ส่วนปุ๊ป เห็นเป็นคนละส่วนกัน จิตกับกายเป็นคนละส่วนกัน สังเกตไหมว่า เราสามารถแยกกายแยกจิตได้ แตท่ า ไมความทกุ ขย์ งั เกดิ ขนึ้ เปน็ ระยะ ๆ คอื สามารถแยกได้ แตแ่ ยกไดไ้ มต่ อ่ เนอื่ ง หรอื ไมไ่ ดส้ นใจตอ่ เนอื่ ง นั่นเอง ไม่ได้สนใจว่า เขาเป็นคนละส่วนทุกอารมณ์ไหม มีแต่ว่าบางครั้งดีบางครั้งไม่ดี บางครั้งทาได้ บาง ครั้งทาไม่ได้
ที่จริงแล้วน่ะ ปัญญาถ้าเกิดขึ้นแล้ว แค่มีเจตนาที่จะรู้เขาแค่นั้น เขาจะทาหน้าที่ เจตนาที่จะรู้ว่า เมื่อกี้นี้ เราเห็นว่าจิตกับลมหายใจเป็นคนละส่วนกัน เราก็เห็น เอ่อ! คนละส่วนกัน จิตเราห่างแค่ไหน วางตาแหน่งของจิตตัวเองได้ แล้วเราเห็นว่า จิตกับกายเป็นคนละส่วนกัน จิตใหญ่กว่าตัวได้ แล้วลองดู ว่า เวลาเรานั่งกรรมฐานนี่นะ ปฏิบัติไป พอมีความคิดขึ้นมา กลับเป็นว่า ความคิดขึ้นมาแล้วเป็นปัญหากับ การแยกอีก เพราะอะไร มีปัญหากับจิตใจเรา นั่งแล้วไม่สงบ ทั้ง ๆ ที่เราแยกจิตกับกายแล้ว จิตเรารู้สึก