Page 76 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การยกจิตขึ้นสู่ความว่าง
P. 76

72
สังเกตไหมว่า อันนี้ขยายความ แตกอีกแล้วนะ ว่าจะสรุปแล้ว อีกนิดหนึ่ง อีกนิด หายไปอีกแล้ว พออีกนิดเดียวก็หาย ก็คือว่า เวลาความคิดเกิดขึ้นนี่นะ โดยปกติเวลาเราคิดถึงอะไร ความคิดมันจะแว็บ เข้ามาที่ใจเราใช่ไหม แว็บเข้ามาที่สมองเรา ทีนี้ลองเปลี่ยนใหม่สิ เวลาคิดแทนที่เขาจะแว็บเข้ามา ให้จิตไปที่ นั่นเลย ลองดูนะ คิดถึงบ้าน ให้จิตเราไปที่บ้าน ไม่ให้บ้านเข้ามาที่ใจเรา ให้จิตเราไปที่บ้านและให้กว้าง กว่าบ้าน รู้สึกเป็นอย่างไร บ้านนั้นหนักหรือเบา...เบา เอ่อ! เห็นไหม ไม่จาเป็นต้องดึงเข้ามาหาตัวไหม ตอน นั้นเปลี่ยนวิธีคิดใหม่นะ
เวลาคิดอะไร แล้วมันดึงเข้ามาหาสมอง แล้วเครียด โยม...ได้นะ เอ่อ! คิดแล้วอยู่ไกล ๆ นี่นะ เวลา คดิ ลองดู ใหเ้ รอื่ งทคี่ ดิ มนั อยใู่ นทวี่ า่ ง ๆ ไกล ๆ ตวั ลองดรู สู้ กึ เปน็ อยา่ งไร เรอื่ งอะไรกไ็ ด้ ใหเ้ ขาอยใู่ นทวี่ า่ ง ๆ เป็นเรื่องแปลกไหม ปกติทาไมเราคิดแล้วเข้ามาหาตัวตลอด แต่ตอนนี้ ทาไมเรามีเจตนาให้เรื่องนั้นอยู่ข้าง นอกได้ นี่คือปัญญา เพราะว่าเราแยกชัดระหว่างจิตกับอารมณ์ ถ้าเราแยกไม่ได้ ก็เป็นไปตามยถากรรม ตลอด ก็คือเข้ามาถึงตัว เข้ามาที่ใจ ทาให้เราวิตกกังวล และก็เครียดตลอดเวลา นี่แหละคือปัญญา
ปัญญา เมื่อรู้อย่างนี้แล้ว ควรจะทาอย่างไร ใช้งานบ่อย ๆ ใช้งานบ่อย ๆ ถ้าไม่ใช้บ่อยไม่ชานาญ เดี๋ยวก็กลับมาตามความเคยชินอีก เคยชินเพราะเราใช้มาตั้งแต่เกิดจนถึงปัจจุบัน บางคนก็ใช้มาสัก ๗๐- ๘๐ ปีแล้วนะ บางคนเพิ่งใช้มา ๑๐ กว่าปีเอง ลองดูสิยังมีเวลาอีกตั้ง ๔๐-๕๐ ปี ๖๐ ปี ที่จะจัดการแก้ตรง นี้ ใช้ให้เกิดความชานาญ อันนี้ไม่ใช่ขึ้นอยู่กับเวลานะ อันนี้ไม่ได้ขึ้นอยู่กับเวลาอย่างเดียว ขึ้นอยู่ที่ปัญญา ของแต่ละคน
ถา้ เราพอใจทจี่ ะใช้ ๆ แลว้ กช็ ดั ขนึ้ ใหม้ นั อยขู่ า้ งนอก ๆ เรากจ็ ะรสู้ กึ ถา้ รสู้ กึ ดแี บบนแี้ ลว้ ควรทา อยา่ งไร ฝึกบ่อย ๆ นะ ไม่ใช่พอแล้วนะ เอ่อ!ทาบ่อย ๆ จริง ๆ ทาบ่อย ๆ คือความเพียร นอกเรื่องสรุปไม่ถูกแล้ว ทนี ี้ ไปไกลแลว้ เพราะฉะนนั้ การทเี่ ราแยกแบบนี้ การทเี่ ราพอใจทจี่ ะกา หนดรู้ ถงึ ความเปน็ คนละสว่ น ระหวา่ ง จติ เรา กบั อารมณท์ เี่ กดิ ขนึ้ บอ่ ย ๆ จะทา ใหเ้ ราเหน็ ชดั เหน็ ชดั ถงึ สจั ธรรมทเี่ กดิ ขนึ้ จรงิ ๆ วา่ เปน็ แบบนจี้ รงิ ๆ
ที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ เป็นแบบนี้ ใครก็ตาม ที่เห็นถึงสัจธรรมความเป็นจริงแบบนี้ ขณะไหน ขณะ นั้นนี่นะ เขาจะไม่ทุกข์กับอารมณ์ที่เกิดขึ้น จิตจะเกิดความสงบ เกิดความว่าง เกิดความตั้งมั่น เกิดความ เบา ไม่เข้าไปคลุกคลีในอารมณ์ เมื่อไหร่ที่เห็นเป็นคนละส่วนแบบนี้ จิตจะไม่หลงเข้าไปยึดว่าเป็นของเรา เพราะจิต จิตต้องเห็นเป็นซ้า ๆ ๆ กา หนดรู้แบบนี้บ่อย ๆ อันนี้อย่างหนึ่ง ยกตัวอย่างแบบนี้ คือการแยก รูปแยกนาม แยกรูปกับนาม แยกจิตกับอารมณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
ทีนี้ อาจารย์ ก็เลยให้สังเกตจิตที่ว่างแล้ว ไปใส่ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ที่หน้า ที่สมอง ที่ตัว ที่ไล่ลงไปเรื่อย แต่ละส่วนมันหายไปหมด พอเห็นความว่าง จนตัวมันหายไปหมด มันว่าง แม้ชั่วขณะหนึ่ง ก็ตาม แม้ชั่วขณะหนึ่ง อย่างเช่น ตอนที่อาจารย์นาให้ทานี่นะ...ทาได้ พออาจารย์หยุดก็กลับมาเหมือนเดิม ถงึ เปน็ อยา่ งนนั้ กต็ าม นนั่ คอื สง่ สญั ญาณ เปน็ สญั ญาณบอกวา่ เรามปี ญั ญา มคี วามสามารถพอ ทจี่ ะพจิ ารณา ถึงความจริง ถึงความว่างเปล่าของรูปนี้ได้ เหลืออย่างเดียวก็คือ การใส่ใจของเรา พอใจที่จะกาหนดรู้ ถึง ความเป็นจริงข้อนี้ ถึงสัจธรรม คือความเป็นอนัตตา


































































































   74   75   76   77   78