Page 89 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การยกจิตขึ้นสู่ความว่าง
P. 89
85
เพราะฉะนั้นเมื่อไหร่ก็ตาม ที่เหลือแค่อาการทางกายหายไป เขาเรียกฆนบัญญัติแตกไป เขาเรียก เพิกบัญญัติ เหลือแต่อารมณ์ที่จะเป็นปรมัตถ์ แล้วเดี๋ยวไหว ๆ แว็บ ๆ ก็ดับ ๆ เป็นจุดเล็ก ๆ เกิดดับไป แล้วเราก็รู้สึกมีกิเลสตามมาอีก เพราะไม่ได้ดั่งใจ แต่ถ้าอารมณ์เล็ก ๆ เอง เขาไม่อาศัย ไม่เป็นกิเลส เพราะ ไม่เข้าใจนี่นะ ก็เลยพยายามที่ต้องเป็นอย่างนี้ เหมือนอย่างที่เคยเห็น ตอนที่ก่อนที่จะเป็นจุดเล็ก ๆ ว่าง ๆ โห!จิตมันใสมากเลย พอตัวหายไป จิตโล่งเบา เบาว่าง ๆ สบายมากเลย พอไม่เป็น เหลือแต่โล่งเบาว่าง ๆ
สักพักก็ เอ!มันว่างมากไปแล้วนะ ไม่ใช่ว่าง ว่างนานไปแล้วนะ อยากจะหาอะไรเล่นสนุก ๆ อีก อยากหาอะไรทา พอไม่มีเริ่มไม่สบายใจ ทั้ง ๆ ที่ตอนแรกอยากปฏิบัติ แล้วทาให้จิตว่าง พอว่างแล้ว เอ๊ะ! ทาไมถึงไม่สบายใจ แสดงว่าเราไม่ได้รู้คุณค่าของความว่าง เจตนาที่เราอยากว่าง ว่างแล้วดีอย่างไร วิธีดู ให้ชัด ทีนี้พอเป็นอย่างนี้ พอว่างแบบนี้ ถามว่ากิเลสตัวไหนเกิด อวิชชา อวิชชาคือความไม่รู้ถึงจิตที่ว่าง เพราะเราเห็นแต่ว่าอาการมันว่างไป ไม่ได้รู้ว่าจิตมันว่างอยู่ คือตรงนี้ มันกลายเป็นความไม่รู้...ส่วนหนึ่ง เขาเรียกอวิชชา
เราเคยได้ยิน อวิชชาเป็นกิเลสที่ละเอียดมากนะ ถ้าโลภะ โทสะ ยังเห็นได้ง่าย แต่อวิชชาความไม่รู้ นี่นะ โอ! ละเอียดมาก เพราะฉะนั้น การที่เราจะรู้ จึงรู้ว่ารู้อะไร ทีนี้พอมีสติขึ้นมารู้ชัด แล้วรู้ว่าจิตมันว่าง มนั เบา ไมม่ กี เิ ลส ไมม่ ตี วั ตนปปุ๊ นนี่ ะ แลว้ นงิ่ พอเรมิ่ นงิ่ เราเรมิ่ หาลมหายใจ ตอ่ ไปกแ็ ทนทจี่ ะเปน็ ลมหายใจ เบา ๆ มนั เรมิ่ กระเพอื่ ม ๆ เรมิ่ คอ่ ย ๆ ขนึ้ มา แลว้ กแ็ วบ็ หาย ๆ ตรงนแี้ หละ ทอี่ ารมณจ์ ะเขา้ สอู่ ารมณป์ รมตั ถ์
เพราะฉะนั้น อารมณ์แบบนี้ ความยินดีพอใจ จะอาศัยอารมณ์นั้นเกิดได้ไหม...น้อย ถ้าเป็นกิเลส โลภะนนี่ ะ เราจะรวู้ า่ เขาดบั ไป ๆ แลว้ จติ เปน็ อยา่ งไร จติ ผอ่ งใสขนึ้ วา่ งขนึ้ แต.่ ..ยงั มแี ตอ่ กี แตถ่ า้ ไมพ่ จิ ารณา วา่ จติ ทวี่ า่ งใสนนี่ ะ มตี วั ตนไหม มกี เิ ลสไหม เรากห็ ลงอกี ตรงนแี้ หละคอื ความละเอยี ด การพจิ ารณานแี่ หละ ไม่มีตัวตนแล้วพิจารณาธรรม พิจารณาสภาวธรรมที่เกิดขึ้น มีการเปลี่ยนแปลงดูกายดูจิต เพราะฉะนั้น การพิจารณาแบบนี้ จะทาให้เราไม่ติดทั้งรูปนาม ไม่ละ ไม่ยึดติด ทั้งแม้แต่จิตที่ว่างก็ไม่ติด ไม่ใช่แบบว่า สุขไม่ได้
เพราะฉะนั้นอาจารย์จึงบอกว่า ไม่ต้องกลัวติดสุข ไม่ต้องกลัวสุขเลยนะ สุขไปเหอะ เดี๋ยวสุขก็ เปลยี่ นเอง ไมต่ อ้ งหว่ ง ขออยา่ งเดยี วใหส้ ขุ ตดิ ตวั ตลอดไป จะไดต้ ายอยา่ งมคี วามสขุ บางทเี รากร็ สู้ กึ สขุ ไหม สุขแบบกลัวติด...อย่ากลัว แค่ปฏิบัติไม่กี่วัน เดี๋ยวเดินออกไป ความสุขก็หายแล้ว ไม่ต้องห่วง ตอนนี้สุข ไปก่อนเหอะ! จริง ๆ แล้ว ควรฝึกจิตที่มีความสุข ทาจิตให้ว่างไม่มีตัวตน มีความสุข
ที่เมื่อเช้าถามว่า จิตที่มีความสุข ที่นุ่มนวลอ่อนโยนนี่นะ บอกว่าเป็นเราไหม ที่ถามนี่นะ ทาไมต้อง ถาม ถามเพอื่ ใหเ้ รารวู้ า่ สขุ แบบไมม่ ตี วั ตนกไ็ ด้ จา เปน็ ตอ้ งมตี วั ตนไหม สขุ แบบไมย่ ดึ กไ็ ด้ เปน็ จติ ทสี่ ขุ แลว้ เอามาใช้งานได้ยิ่งดี เพราะคนที่มีความสุขนี่นะ จิตจะสงบ สมาธิเกิดขึ้นได้ง่ายและตั้งอยู่นาน ความวุ่นวาย ไม่เกิดขึ้น จิตที่มีความสุขความสงบ เมตตาก็จะเกิดขึ้นมา ฌานตั้งอยู่ได้นานด้วย เพราะฉะนั้นถามว่า โทษ อยู่ตรงไหน อย่าเพิ่งกลัว ใช้ให้เต็มที่ ทาความดีให้สุดกาลัง