Page 87 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การยกจิตขึ้นสู่ความว่าง
P. 87
83
เหลือแต่เสื้อผ้า ๒ ชิ้นก็ลาบาก ก็ยังหนักยังทุกข์ ถ้าไม่ละตัวตน ไม่ละกิเลสที่อยู่ภายในจิตใจของ ตัวเอง ปล่อยวางทั้งหมด อย่างไรก็ยังทุกข์ เห็นไหม ทุกข์แบบห่อเหี่ยวด้วย ไม่ใช่ทุกข์แบบสงบ ห่อเหี่ยว... แทนที่จะมีความสุข แต่ถ้าละตัวตน เหมือนที่เราปฏิบัติอยู่นี่นะ ลองดูสิ ละความรู้สึกว่าเป็นเรา ทุกอย่างยัง อยู่ครบไหม บ้านก็อยู่บ้านนั่นแหละ รถก็อยู่ครบไม่มีหายไปไหนหรอก
ลองดู ปล่อยวางสักวันหนึ่ง จะเป็นอย่างไรไป รถที่จอดก็จอดไว้นี่แหละ เรากลับบ้านตัวเปล่า ลองดูว่าจะเป็นอย่างไร ปล่อยวางแบบนั้น น่าจะวิตกกังวลน่าดูนะ โอ้โห! จะไปแล้วจะไปอย่างไร สะดวก ไม่สะดวก จะเจอปัญหาอะไรอีก รถติด ลาบากอย่างไร นี่คือการปล่อยวาง แล้วลองดูว่า ถ้าเราไม่มีตัวตน จิตที่เราปล่อยวาง ความสงบที่เกิดขึ้น ทีนี้ การปล่อยวางอย่างหนึ่งก็คือว่า อันนั้นเป็นส่วนหนึ่งนะ ถ้าใคร ปล่อยวางได้ ถือว่าปล่อยภาระที่ดี ก็เป็นลดภาระไปอย่างหนึ่งเหมือนกัน ไม่ใช่ไม่ดี...ดี ปล่อยวางได้ก็ดี
แต่การที่ละกิเลส ละโลภะ ปล่อยวางอัตตา ละตัวตนตรงนี้ แล้วพิจารณาสภาวธรรมเหล่านี้นี่นะ ที่เกิดขึ้น ที่พูดมาทั้งหมด ทาให้เราเข้าใจถึงสถานะ ถึงสถานะ ถึงสิ่งที่เกิดขึ้น ลักษณะความจาเป็น เหตุ ปัจจัยของแต่ละอารมณ์ที่เกิดขึ้นนี่นะ เราใช้อย่างสงบ เรามีอย่างสงบ มีแล้วก็อิสระ สบายใจด้วย มีแล้วมี ความสุขได้ด้วย จาเป็นต้องทุกข์ไหม จริง ๆ แล้ว คือสิ่งที่ต้องมี คือปัญญา สติ สมาธิ ปัญญา พิจารณาที่ ต้องเข้าใจ ถึงธรรมชาติที่เป็นอยู่
๒ รูป นาม อันนี้ ความปรารถนาความต้องการของเราอย่างหนึ่ง ความจาเป็น หน้าที่ต้องทาอย่าง หนึ่ง สิ่งที่เกิดขึ้น พระพุทธเจ้าจึงใช้คาว่า บุคคลที่มีภาระเยอะ แล้วรู้สึก...อะไรนะ ความจาเป็น จริง ๆ ท่าน สอนพระ สอนพระ ความจาเป็นอะไรนะ ปัจจัย ๔ ใช่ไหม ปัจจัย ๔ มีอาหาร ยารักษาโรค เสื้อผ้า ที่อยู่ อาศัย ๔ อย่างนี้นะ ถ้าไม่มีปัญหาเป็นทุกข์ทางกายเกิดขึ้นมา ทุกข์ใจก็เกิดขึ้นมา แต่ถ้าเรามีครบ ๔ อย่างนี้ แล้ว คงไม่ตายง่าย ๆ มีอาหารกิน มียารักษาโรค มีที่พัก มีเสื้อผ้าอาศัยนี่นะ เราก็อยู่ได้อย่างมีความสุข
แตส่ ว่ นอนื่ ละ่ ตรงนที้ เี่ ราพจิ ารณา จา เปน็ ไมจ่ า เปน็ ถา้ พดู ถงึ วา่ ถา้ การทเี่ ราอยแู่ บบนี้ อะไรทมี่ นั เกดิ ขึ้นที่เปลี่ยนไป ถ้าเรามีอยู่ ๔ อย่างนี้ครบแล้ว วางใจหรือสงบเถอะ อย่าเพิ่งวุ่นวายเลย ตั้งสติให้ดี พิจารณา ไป ๔ อย่างนี้ ทีนี้สิ่งที่ตามมา สิ่งที่เกิดขึ้น เราควรจัดการอย่างไร สติอย่างไร พิจารณาอย่างไรให้เหมาะสม ทาให้ดี เห็นด้วยเหตุปัจจัยตรงนั้น นี่คือการพิจารณาด้วยสติ ด้วยปัญญาของเรา
ถา้ เรากลบั มาดตู รงนี้ เหมอื นทกุ วนั นนี่ ะ อาหารกม็ กี นิ เสอื้ ผา้ กม็ ใี ช้ ทอี่ ยอู่ าศยั ปอ้ งกนั เหลอื บยงุ ลม แดดทั้งหมดนี่นะ รู้สึกว่ามันก็พอได้ ดีอยู่แล้วนี่นะ จะทุกข์กับอะไร ด้วยเรื่องข้างนอก เรื่องอันไหนที่มัน เกนิ กา ลงั หรอื เกนิ ไป เราตดั ไดไ้ หม วางไดไ้ หม เอาเทา่ ทมี่ อี ยนู่ ไี้ ดไ้ หม เพอื่ ความเปน็ สขุ อนั นมี้ าถงึ ตรงไหน ถึงตรงที่ว่า ถ้าเราพอใจในสิ่งที่มีแบบนี้แล้ว อะไร...เขาเรียก กลายเป็นผู้สันโดษ สันตุฏฐี ปะระมัง ธะนัง ความสันโดษเป็นทรัพย์อย่างยิ่ง
เออ่ ! ม.ี ..แลว้ กม็ คี วามสขุ ไป มคี วามสขุ กบั สงิ่ ทมี่ คี รบอยแู่ ลว้ ไมใ่ ชไ่ มม่ นี ะ พอใจในสงิ่ ทมี่ ี กม็ คี วามสขุ แต่ไม่ใช่ขี้เกียจนะ คนละอย่างกันนะ แต่ไม่ใช่ขี้เกียจนะ คนละอย่างกัน แต่พิจารณาด้วยความเหมาะสม ที่ไม่เป็นทุกข์นั่นแหละ เพราะฉะนั้น แต่ที่สาคัญกว่านั้น ที่สาคัญกว่านั้น ก็คือว่าการดับตัวตน ค้นธรรม