Page 86 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การยกจิตขึ้นสู่ความว่าง
P. 86
82
เคยได้ยิน โยคี...พยายาม ทาอย่างไรจิตจะเป็นกลางสักทีหนึ่ง ทาจิตให้เป็นกลาง คือเฉย ๆ กับ ทกุ ๆ อารมณ์ เปน็ กลางนนี่ ะ พยายามจะเฉย ๆ เพอื่ ทกุ อารมณจ์ ะไดเ้ ปน็ กลาง เฉยไดไ้ มน่ านเดยี๋ วกเ็ ปน็ อกี คาว่าเป็นกลางนี่นะ ถ้าจิตแบบไม่มีตัวตน ไม่ยินดี หรือไม่ยินดีกับอารมณ์...แต่พร้อม ถ้าไม่แยกส่วนกัน ถ้าไม่แยกส่วนระหว่างจิตกับกาย หรือไม่มีตัวตน อย่างไรก็จะมีความรู้สึก...ชอบไม่ชอบเป็นระยะ ๆ ถึง พยายามเฉย ๆ เราก็ยึดอะไร ยึดความเป็นกลางอีกแหละ เป็นอุเบกขา ไม่อิสระอีก มันก็พยายามยึดอย่าง ใดอย่างหนึ่งอยู่
กลายเป็นว่า แทนที่จะรู้สึกว่ามีความสงบ มีความตั้งมั่นและเป็นอิสระ กลับรู้สึกต้องพยายามยึด ตรงที่เราพยายามยึดตรงนั้น รู้สึกเป็นอย่างไร รู้สึกไหมว่าเราต้องข่ม ข่มใจตัวเอง ห้ามนะ ห้าม ๆ ๆ ถาม ว่าดีไหม...ดี ไม่ใช่ไม่ดีนะ ต้องรู้จักห้ามก่อนนั่นแหละดีแล้ว แต่ถ้ารู้สึกว่า การที่ละ...ดับความเป็นตัวตน แล้วพอใจที่จะรู้ถึงการเกิดดับ ทุก ๆ อารมณ์ ตรงนี้แหละ คือความเท่าเทียมกัน ความเท่าเทียมกันของ สภาวธรรม คือเกิดขึ้นแล้วต้องดับ ๆ ไม่มีใครไม่ดับ ไม่มีอารมณ์ไหนไม่ดับ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์ที่เกิดกับใจ มีการเกิดดับโดยธรรมชาติ โดยสภาวะ โดยปกติ
เพราะฉะนั้น การที่เราละตัวตนนี่นะ ละความเป็นเรา ละอัตตาปุ๊ปนี่นะ การพิจารณาอารมณ์เหล่านี้ จะได้ง่ายขึ้น ไม่ใช่เป็น...เราอยาก เรากลัว เราชอบ เราไม่ชอบ แม้แต่ความชอบไม่ชอบเอง ลองดูสิ พอรู้สึก ชอบขึ้นมา ไปรู้...ความชอบเที่ยงไม่เที่ยง...ไม่เที่ยง ไม่เที่ยงมันก็ดับไป แต่บางทีความชอบก็ไม่เที่ยง เดี๋ยว ชอบโน่น ชอบนี่ ชอบไปเรื่อย ๆ วนไป ชอบจากเรื่องหนึ่ง เปลี่ยนเรื่องเป็น...เปลี่ยนวัตถุไปเรื่อย ๆ มันก็ ไม่เที่ยงเหมือนกัน เปลี่ยนเรื่องราวไปเรื่อย ๆ ก็ไม่เที่ยงเหมือนกัน แต่ก็ทุกข์เหมือนกัน เพราะความชอบ มันเป็น...วนไปเรื่อย ๆ
แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่กาหนดรู้ ความชอบที่เกิดขึ้น แล้วก็ดับไป เหลืออะไร ความชอบดับไป เหลืออะไร ความสงบ ความสขุ ความวา่ ง ความตงั้ มนั่ ไมค่ ลอ้ ยตามอารมณ์ ไมร่ งั เกยี จอารมณ์ กลายเปน็ วา่ จติ มคี วาม สงบตงั้ มนั่ ขนึ้ นคี่ อื การพจิ ารณาอาการเปลยี่ นแปลง อาการพระไตรลกั ษณ์ และจติ เขาจะทา งานของเขา โดยที่ เราไม่ต้องบอก ฉันจะปล่อยวางแล้วนะ ฉันต้องวางให้ได้ ฉันต้องวางให้ได้ วางอะไร วางฉัน หรือวางอะไร
พอปล่อยวางหมด ทุกคนกลับรู้สึกว่า ถ้าปล่อยวางหมด แสดงว่าเราต้องวางภาระทั้งหมด การงาน หน้าที่ที่ต้องทา ไม่ต้องทาแล้ว เป็นอย่างนั้นไหม...ไม่ได้ วางแบบนั้นก็วาง...ปล่อยทิ้ง แค่ล้างหน้าแปรงฟัน ก็ไม่ไหวแล้วนะ ปล่อยทิ้งไปแล้ว มีบางขณะนี่นะ มีบางขณะ นักปฏิบัติจะรู้เลยว่า พอปฏิบัติไป แม้แต่ทาน ขา้ วกเ็ ปน็ ภาระ จะดมื่ นา้ กร็ สู้ กึ วา่ เปน็ ภาระ จะลา้ งหนา้ กเ็ ปน็ ภาระ จะแปรงฟนั กเ็ ปน็ ภาระ อะ่ !หนกั หมดเลย
แสดงว่ารูปนามอันนี้เป็นภาระ กลายเป็นอะไร ภารา หะเว ปัญจักขันธา ขันธ์ทั้ง ๕ เป็นของหนัก เห็นไหม ขันธ์ทั้ง ๕ เป็นของหนัก แล้วทาอย่างไรถึงจะละขันธ์ ๕ ได้ อันนี้คือสิ่งที่ต้องทา อย่างไรถึงจะละ ขันธ์๕ ได้ ไม่ใช่ฆ่าตัวตายนะ คนละเรื่องนะ การปล่อยวางละขันธ์ ๕ ละขันธ์ ๕ ไม่เอาแล้ว ละโน่นละนี้ทิ้ง ทั้งหมด แต่ยังยึด ละวัตถุสิ่งของรอบกาย แต่ยังยึดทิฏฐิ มีอัตตทิฏฐิมานะ มีความเป็นตัวตนอยู่ ถึงไม่มี อะไรก็ลาบาก