Page 10 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การกำหนดต้นจิตอิริยาบถย่อย
P. 10

128
เป็นเส้น เป็นจุด เป็นขณะ ๆ ไป นี่คือรู้แค่อาการที่สัมผัส เวลาน้าโดนหน้า รู้สึกเย็นแล้วก็วาบหายไปในที่ ว่าง ๆ นี่คือการรับรู้อย่างไม่มีตัวตน
เพราะฉะนั้น การสังเกตอิริยาบถย่อยนี่เราสามารถกาหนดได้ตลอด ขณะดื่มน้า ลองดูสิ ลองดูว่า กลืนไปที่ไหน ? กลืนลงไปในที่ว่าง ๆ หรือเปล่า ? อันนี้สามารถสังเกตได้ เวลาแปรงฟัน ทาจิตให้ว่าง เอา ความวา่ งไวท้ ปี่ าก แลว้ กเ็ คลอื่ นมอื ขยบั มอื ลองดู สงั เกตอาการสมั ผสั การกระทบ แรงทกี่ ระทบเคลอื่ นไหว อยู่ เขาอยู่ที่ไหน ? เขาเกิดอยู่ในที่ว่าง ๆ หรือเปล่า ? นี่คือจุดที่สามารถสังเกตได้หมด กาหนดได้หมดเลย
ทีนี้ เวลาเราเคี้ยวอาหารเราจะกาหนดอย่างไร ? ในการกาหนดอารมณ์เวลาเราทานอาหาร ที่บอก พิจารณาอาหารก่อนทาน พิจารณาก่อนฉัน จะพิจารณาเป็นภาษาบาลี หรือพิจารณาเป็นภาษาไทยก็ตาม เราพิจารณาเพื่ออะไร ? เพื่อไม่ให้หลงในรสชาติของอาหาร ไม่ให้ติดในรสชาติของอาหาร ถ้าเพื่อไม่ให้ติด ในรสชาติของอาหาร ทาอย่างไร ? ไม่ใช่ไม่ให้รู้รสนะ คนละอย่างนะ! ไม่ให้ติดในรสกับไม่ให้รู้รสคนละ อย่างกัน ลิ้นทาหน้าที่รู้รส รับรส เพราะฉะนั้น ถ้าใครไม่รู้รสต้องเช็คลิ้น! คือไม่ให้ติดในรสชาติที่เราเคย ชอบ เคยยินดี เคยพอใจ เวลาไม่ได้ดั่งใจแล้วความทุกข์เกิดขึ้นมา หรือแสวงหาจนเกิดมีความทุกข์ อันนี้ อย่างหนึ่ง
ทนีี้การพจิารณารสชาตขิองอาหารเพอื่ไมใ่หต้ดิในรสชาตขิองอาหารอนัทจี่รงินกี่ญุแจดอกเดยีวกนั เลย ก็คือใช้จิตที่ว่าง ๆ ว่างจากตัวตน ว่างจากเรา ลองดูนะว่า เวลารสชาติอาหารมันรู้สึกอร่อยอยู่ตรงนี้ มัน มีความอร่อยอยู่ตรงไหนนะ ? ตรงกระพุ้มแก้มมั้ง มันอยู่ตรงใกล้โคนลิ้นนิดหนึ่ง รสชาติอร่อยอยู่แถวนั้น แหละ แล้วก็เอาจิตที่ว่าง ๆ เข้าไปเราจะเห็นเลยว่ารสชาติของอาหารเขาอยู่ที่ไหน เขาลอยอยู่ที่ว่าง ๆ หรือ เปล่า ?
ขณะทนี่ งั่ อยนู่ ี่ ลองเอาความรสู้ กึ ทวี่ า่ ง ๆ เขา้ มาไวใ้ นปาก แลว้ ลองดวู า่ บรเิ วณปากเรานี่ ขา้ งในรสู้ กึ เป็นอย่างไร ? มันมีรูปร่างของปากไหม ? หรือรู้สึกมีฟันไหม ? (โยคีกราบเรียนว่า ไม่มี) เขารู้สึกเป็นอย่างไร ? เบา ๆ กลวง ๆ โล่ง ๆ ว่าง ๆ อยู่ นี่คือเพราะจิตเราว่าง พอจิตเราว่างทีนี้รสชาติเขาเกิดอยู่ในความว่างปึ๊บนี่ ความยินดีพอใจในรสชาติเกิดขึ้นไหม ? แยกระหว่าง “รสชาติที่เกิดขึ้น” กับ “จิตเรา” เราจะรู้ว่าหวานแล้ว ก็ดับไป เปรี้ยวก็ดับไป เค็มก็ดับไป กลมกล่อมก็ดับไป อร่อยก็ดับไป...
ไม่ดับหรือ ? สังเกตไหมว่า รสชาติไม่ดับเพราะเรากลัวรสชาติมันหายเลยเติมตามเร็วขึ้น สังเกตสิ เรายังกลืนในปากไม่หมดเลยตักรอเสียแล้ว พอเริ่มเคี้ยวจะกลืน ก็ป้อนเข้าไป เหมือนโรงงาน มันหมุนไป เรื่อย ๆ แต่ถ้าลองดู เคี้ยว ๆ ๆ ๆ จนกลืนหมดแล้ว นิ่งนิดหนึ่ง พิจารณาดูสิ รสชาติที่ว่าอร่อยที่สุดถ้า ขาดตอนแล้วรู้สึกอย่างไร ? ความเพลิดเพลินในรสชาตินั้นลดลงทันที แล้วเราก็จะรู้สึกว่าความอร่อยจะ น้อยลง การติดในรสชาติลดลง อันนี้คือการที่เราหยุดเพื่อให้เห็นช่องว่างระหว่างรสชาติ
แต่ถ้าเรากาหนดแบบนี้ - สมมติว่า พอเปรี้ยวขึ้นมา เอาจิตที่ว่าง ๆ เข้าไปปึ๊บ ดูว่าความเปรี้ยวเขา ดับอย่างไร ? พอหวานขึ้นมา เข้าไปรู้ ความหวานเขาดับอย่างไร ? แม้แต่ความหวานที่อมไว้ในปากก็ยังไม่ เที่ยง! ทุกคนที่นั่งในที่นี้คิดว่าคงเคยอมลูกอมสักอย่างหนึ่งแหละ อมแล้วรู้สึกหวาน อร่อย ถูกใจ อมไป


































































































   8   9   10   11   12