Page 11 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การกำหนดต้นจิตอิริยาบถย่อย
P. 11
129
เรื่อย ๆ พอความหวานเริ่มหาย เราก็เริ่มขยับลิ้นเพื่อให้ความหวานมันออกมาแล้วก็อมต่อ พอสักพักมัน เริ่มจืด เราก็ขยับลิ้นใหม่เพื่อให้ความหวานมันออกมา แล้วก็ขยับอยู่เรื่อยเพื่อให้รสชาติความหวานมัน ต่อเนื่อง ถ้าอมเฉย ๆ รสชาติมันจะหายไป นั่นคือความไม่เที่ยง-การดับของเขา
ถ้าหวานเท่าเดิมตลอด รับรองเลี่ยน! สังเกตไหม ถ้าหวานตลอดเลย จะหนีไปไหนก็ไม่ได้ จืดก็ ไม่ได้ หวานอยู่ในปากตลอดนี่ ไม่นานเดี๋ยวก็รู้สึกเลี่ยนแล้ว หาทางล้างปากแล้ว ไม่ไหวแล้ว แสดงว่าเกิน ที่ร่างกายของเราจะรับ เพราะฉะนั้น สังเกตดูว่ารสชาติของอาหารจึงมีการเกิดดับ เขาดับแล้วก็เติมใหม่ เกิดดับแล้วก็เติมใหม่ เติมใหม่อยู่เรื่อย ๆ นั่นคือการเกิดดับของมัน ถ้าเราสนใจรู้การเกิดการดับของเขา เราจะเห็นเลยว่ารสชาติเกิดขึ้นแล้วก็ดับไป
ทีนี้ การกาหนดการไม่ติดในรสชาติเพื่ออะไร ? บางทีเราจะเห็นว่าอาหารบางอย่างรสชาติไม่ถูกปาก แต่จาเป็นต่อร่างกาย เราจะทานอย่างไรถึงจะรับได้โดยที่ไม่รู้สึกเป็นทุกข์กับมัน ? แม้แต่ยาบางชนิด เราไม่ ชอบเลยแต่จาเป็นต้องรับ บางคนทานยากมาก ลองดู เอาจิตที่ว่าง ๆ ไปรับรู้ แล้วให้มันกลืนลงไปในที่ ว่าง ๆ สิ แทนที่จะกลืนลงไปในท้อง ลองดูสิ เวลาเรากลืนน้าลายมันลงไปที่ไหน ? ลงไปที่ท้องไหม ? ไม่รู้ สึก ใช่ไหม ? รู้สึกว่าแค่เลยคอไปก็หายแล้ว ลงท้องหรือเปล่าก็ไม่รู้ ?
การกาหนดรสชาติของอาหารเพื่อไม่ติดในรสชาติอย่างหนึ่ง แล้วการยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนา รู้การเกิด ดับของรสชาติที่เกิดขึ้นอีกอย่างหนึ่งให้ละเอียดมากขึ้นก็คือว่า จิตที่ทาหน้าที่รู้กับรสชาติที่เกิดขึ้น เขาเป็น ส่วนเดียวกันหรือคนละส่วน ? ความหวานกับจิตเรา เขาเป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน ? ความอร่อย กบั จติ เรา เขาเปน็ สว่ นเดยี วกนั หรอื คนละสว่ นกนั ? สงั เกตแบบนเี้ พอื่ อะไร ? เพอื่ ทจี่ ติ จะคลายจากอปุ าทาน คลายความยินดีพอใจ แต่ก็ยังรู้ว่าอะไรดีไม่ดี
ถา้ ไมร่ รู้ สชาตเิ ลยเดยี๋ วกม็ ปี ญั หาขนึ้ มา ถา้ ไมร่ รู้ สชาตเิ ลย ทานแตเ่ กลอื เคม็ แตไ่ มร่ วู้ า่ เคม็ นกี่ อ็ นั ตราย นะ ทานหวาน ๆ ๆ ๆ ไปตลอด ไม่รู้ว่าหวาน น้าตาลขึ้นเรียบร้อยแล้วเราก็ไม่รู้ อันนี้ก็อันตราย เพราะฉะนั้น การพจิ ารณา - ลนิ้ ทา หนา้ ทขี่ องเขา เขารรู้ ส แตค่ วามยนิ ดพี อใจในรสนนั้ อยทู่ เี่ ราเปน็ ผกู้ า หนด อยทู่ เี่ ราเปน็ ผู้เลือกว่าเราจะยินดีพอใจในรสชาติอาหารนั้นมากแค่ไหน ไม่ใช่ไม่รู้รส รู้ แต่ติดหรือไม่ติดนั่นอีกเรื่องหนึ่ง อันนี้คือการพิจารณา
เพราะฉะนั้น ลองดูนะ พรุ่งนี้เวลาเคี้ยวอาหาร ถ้ารสชาติอาหารไหนที่รู้สึกว่าเข้าปากแล้วไม่ถูกใจ ลองทาใจให้ว่าง ๆ แล้วมันจะเข้าไปได้สบาย ๆ อาหารรสชาติไหนไม่ถูกปากก็ให้ร่วงไป ใช่ไหม ? ทันไหม ? เพราะไมถ่ กู ปากแลว้ จะไปทไี่ หน... มนั กร็ ว่ งส!ิ ไมถ่ กู ปากกอ็ ยขู่ า้ งนอกปากไง! อาหารไหนทเี่ ราทานแลว้ รสู้ กึ ถูกใจ อร่อย เราก็ลองดูว่า อร่อยแล้วเขาหายอย่างไร ? อร่อยแล้วเป็นอย่างไร ? รู้ กาหนดเคี้ยวไป เคี้ยว ไป... อันนั้นคือรู้รสชาติ
ทนีี้การรอู้าการเกดิดบั-เวลาเราเคยี้วอาหารเอาจติทวี่า่งๆไปรู้“จดุกระทบ”ของการเคยี้วกระทบ แต่ละครั้ง กระทบไป กระทบไป... สังเกตอาการเกิดดับ จะให้ละเอียดขึ้นไปอีกก็คือว่า เราเคี้ยวแล้วให้จิต เราไปอยู่ที่ระหว่างจุดกระทบตรงนี้ เวลาเราเคี้ยวแต่ละคา เคี้ยวถูกจิตเราด้วยไหม ? ลองดูนะ แล้วจะมี