Page 9 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การกำหนดต้นจิตอิริยาบถย่อย
P. 9

127
ในสิ่งที่เขาทา ไม่ใช่สักแต่ว่าทาโดยไม่มีเหตุผล แล้วเขาจะรู้ถึงเหตุและผลว่าที่ทาอย่างนี้เพราะอะไร - ทาไม ต้องขยับ ทาไมต้องกระพริบตา ทาไมต้องอ้าปากที่จะพูด...
สังเกตไหม เวลาเราอ้าปากพูด ปากเราไม่ได้อ้าเท่าเดิม ลิ้นเราก็ไม่ได้เท่าเดิม เพราะภาษาเสียงที่เรา เปล่งออกไป บางครั้งก็ปรับลิ้น บางครั้งก็ปากกว้าง บางครั้งก็แคบ... ทาไมเป็นไปอย่างนั้น ? เพราะจิตเรา กากับ ถ้าสังเกตเราจะเห็นเลยว่า เขาคอยกากับว่า อันนี้กระดกลิ้น เวลาออกเสียง ร เรือ ลิ้นเป็นอย่างไร เวลาออกเสียง ล ลิง ลิ้นทาแบบไหน นี่คือธรรมชาติของจิต เพราะเราเคยฝึกใช้ แต่ถ้าเราไม่สังเกต จะไม่ เห็นเลยว่าจิตเขาสั่งหรือเปล่า เพราะนี่คือความละเอียดของเขา
ตรงที่เราเห็นการทางานของจิตเร็วแบบนี้ ก็เหมือนที่พระพุทธเจ้าตรัสถึงวิถีจิต หนึ่งลัดนิ้วมือเดียว จิตเกิดแสนโกฏิดวง เขาทาหน้าที่เร็วมาก เมื่อช่วงบ่ายโยมเขาถามว่า ในหนึ่งขณะของรูป จิตทางานกี่ขณะ ? ๑๗ ขณะ ใช่ไหม ? วิถีจิตทางาน ๑๗ ขณะในหนึ่งขณะของรูปนี่เป็นอย่างไร ? นี่แหละถ้าอยากเห็น สังเกต ตรงนี้! การทางานของวิถีจิต เขาทาไปโดยอัตโนมัติ เพียงแต่เราเข้ามาศึกษาเรียนรู้ธรรมะคาสอนของ พระพุทธเจ้าว่าที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้จริงไหม
แล้วผลที่ตามมาก็คือ ใครก็ตามที่มีสติแก่กล้าปัญญาเฉียบแหลม แล้วเห็นตามที่พระพุทธเจ้าตรัส คนนนั้ สต/ิ จติ ใจเปน็ อยา่ งไร ? รสู้ กึ ไหม จติ เราจะมนั่ คงขนึ้ ? เราจะเปน็ คนทมี่ สี ตติ งั้ มนั่ มจี ติ ทตี่ งั้ มนั่ เพราะ ฉะนั้น การที่เข้าไปกาหนดรู้ เพื่อเห็นสัจธรรมธรรมะคาสอนพระพุทธเจ้าที่บอกว่า สังขารทั้งหลายทั้งปวง เกิดขึ้นแล้วดับไป มีการเปลี่ยนแปลงเกิดดับตลอดเวลา จึงให้ใส่ใจกาหนดรู้อาการเกิดดับตรงนี้ เมื่อเรา กาหนดรู้แบบนี้เราจะเห็นความจริงมากขึ้น เมื่อเห็นความจริงของธรรมชาติของรูปนามมากขึ้น ๆ จิตก็จะ คลายอุปาทานมากขึ้น ๆ จิตก็จะอิสระมากขึ้น นั่นแหละจึงให้เน้นกาหนดรู้อาการเกิดดับ
ทีนี้ การกาหนดต้นจิตนี่ ทาอย่างไรถึงจะกาหนดทัน ? จริง ๆ ก็บอกไปแล้วว่าทาอย่างไรถึงจะ กาหนดทัน ถ้าเรากาหนดรู้ด้วยจิตที่ว่าง ๆ ไม่มีเรา... นี่ ใช้คาว่าเราแล้วบอกว่าไม่มีเรา ทับศัพท์แล้วกัน คา ว่าเราตัวที่หนึ่ง สมมติว่านี่คือเรา คาว่าไม่มีเราตัวที่สอง ก็คือว่าโดยสภาวะ จิตที่ไม่บอกว่าเป็นเรา รูปนี้ไม่ ได้บอกว่าเป็นเรา แต่สมมติเรียกว่าเป็นเรา ไม่งงนะ ? คือใช้จิตที่ว่าง ๆ ที่โล่ง ๆ เบา ๆ ที่ไม่บอกว่าเป็นเรา ทาหน้าที่รับรู้
ใช้จิตที่เบา ๆ ว่าง ๆ ทาหน้าที่รับรู้อย่างไร ? ที่บอกว่า เอาจิตที่ว่าง ๆ ไปไว้ที่สมอง รู้สึกเป็นอย่างไร ? เอาจิตที่ว่าง ๆ เข้าไปที่เวทนา แล้วเป็นอย่างไร ? บางคนเข้าไปแล้วเวทนามันจางหาย เข้าไปที่อาการปวด ที่ปวดหัวก็หาย เอาไปที่สมอง สมองก็หายไป ไม่มีสมองมีแต่ปัญญา!สมองมันโล่งไปหมดเลย เหลือแต่ตัว สติกับปัญญา นี่คือการใช้จิตที่ว่างทาหน้าที่รับรู้ เพราะฉะนั้น เมื่อจิตที่ว่าง ๆ พร้อมที่จะสังเกตอาการต่าง ๆ ที่ปรากฎขึ้น ไม่ว่าจะหยิบ จะจับ จะเคล่ือนไหว จะพูด จะเดิน จะล้างมือล้างหน้า ก็สามารถกาหนดได้
บางคนเวลาลา้งหน้าพอกวกันา้ขนึ้มาลา้งหนา้หรอืเอามือลบูหนา้ป๊บึสมัผสัถกูความวา่งไมถ่กูหนา้ ตัวเอง ลูบไป เอ๊ะ! ทาไมว่าง ๆ หน้าเราอยู่ตรงไหน!? ลองดูสิ นั่งอยู่นี่ เอาจิตที่ว่าง ๆ มาไว้ท่ีหน้าดู เขามี รูปร่างของหน้าไหม ? รู้สึกเป็นอย่างไร ? รู้สึกทั้งหมดหรือเฉพาะจุดที่สัมผัส ? รู้เฉพาะจุดที่สัมผัส สัมผัส


































































































   7   8   9   10   11