Page 12 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การปรับอินทรีย์
P. 12
264
“ตัวเจตนา” การปฏิบัติธรรม “เจตนาที่จะรู้ถึงสภาวธรรมที่กาลังปรากฏ” ว่าจริง ๆ แล้วสภาวะที่เกิดขึ้นที่ เป็นธรรมชาติจริง ๆ เป็นอย่างไร ทีนี้ คาว่า “สภาวธรรมที่กาลังปรากฏ” คืออะไร นอกจากที่เรามีสติรู้อยู่ กับปัจจุบัน ? ก็ย้อนกลับมาเรื่องของรูป-นาม คือรู้กาย รู้เวทนา รู้จิต รู้ธรรม เขาเรียก “สติปัฏฐานสี่” ดู กายในกาย รู้เวทนาในเวทนา ดูจิตในจิต รู้ธรรมในธรรม หรือกายานุปัสสนา ตามรู้อาการของกาย เวทนา- นุปัสสนา ตามรู้อาการของเวทนาที่กาลังปรากฏ จิตตานุปัสสนา ก็คือตามรู้จิต อารมณ์ที่เกิดกับจิต ธัมมา- นุปัสสนา ก็คือรู้สภาวธรรมที่กาลังปรากฏ ณ ขณะปัจจุบันนั่นเอง
แล้วอีกอย่างหนึ่ง อาการของกาย-เวทนา-จิต-ธรรม เป็นอาการของอะไรบ้าง ? อาการอะไรที่อาศัย รา่ งกายเกดิ ? อาการปวดทางกาย อาการเตน้ ของหวั ใจ อาการของลมหายใจ อาการเครง่ ตงึ ทเี่ กดิ ขนึ้ ตามรา่ งกาย ของเราเป็นอาการของกาย เพราะฉะนั้น เวทนาทางกายที่เกิดขึ้น อย่างเช่น เจ็บ ปวด เมื่อย ชา ตามหัวเข่า ตามหลัง ตามไหล่ อาศัยร่างกาย แต่สิ่งที่ปรากฏชัดกลับเป็น “อาการของเวทนา” และเมื่อมีเวทนาทางกาย เกิดขึ้น ตามหลักการเจริญกรรมฐานคือเข้าไปพิจารณาตัวเวทนาเองเลย รู้อาการเกิดดับของเวทนา รู้ว่า เวทนาที่เกิดขึ้นมานั้นเกิดดับอย่างไร มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
ในการกาหนดรู้เวทนา จะให้ดี พิจารณาดูความรู้สึกที่ไม่มีตัวตน ไม่มีเรา เพราะฉะนั้น เพื่อที่จะให้ กา หนดรเู้ วทนาอยา่ งไมม่ ตี วั ตน ไมม่ เี รา ตอ้ งกา หนดแบบเหน็ ชดั พจิ ารณาวา่ เวทนาทเี่ กดิ ขนึ้ กบั จติ ทที่ า หนา้ ทรี่ ู้ เขาเป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน ? เมื่อมีเวทนาเกิดขึ้น จุดเริ่มต้น เราควรจะรู้ว่าเวทนาที่เกิดขึ้นนั้น เกิดตาแหน่งไหนของรูป - เกิดที่หัวเข่า เกิดที่หลัง เกิดที่ไหล่ เกิดบริเวณศีรษะ... เกิดส่วนไหนของร่างกาย ของเรา ? อันนี้อย่างหนึ่ง พอเห็นว่าเวทนาปรากฏที่ไหน สิ่งที่พิจารณาต่อมาก็คือว่า ขณะที่มีเวทนามีความ ปวดเกิดขึ้น สังเกตว่า จิตที่ทาหน้าที่รู้ว่าปวดกับความปวด เขาเป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน ?
การสังเกตตรงนี้จะทาให้เราเห็นชัด หรือแยกจิตกับเวทนาโดยปริยาย โดยไม่ต้องไปบังคับว่าอย่า เข้าไปยึดนะ เวทนาไม่ใช่ของเรานะ... การพิจารณาแบบนั้น ถามว่า ดีไหม ? ก็ดีระดับหนึ่ง แต่การที่เราจะ เห็นสภาวธรรมตามความเป็นจริงก็ด้วย “การสังเกต” ปัญญาเกิดขึ้นจากการใส่ใจ สังเกต พอเห็นเวทนากับ จติ เปน็ คนละสว่ นกนั สงิ่ ทคี่ วรพจิ ารณาตอ่ กค็ อื วา่ จติ ทที่ า หนา้ ทรี่ กู้ บั เวทนาทเี่ กดิ ขนึ้ อนั ไหนมกี า ลงั มากกวา่ กัน ? กาลังของจิต คือความตั้งมั่น ความเข้มแข็ง จิตที่มั่นคงกับความรุนแรงของเวทนา อันไหนมีกาลัง มากกว่ากัน และอีกจุดหนึ่งเราสังเกตดูว่า ขณะที่เวทนาเกิดขึ้น จิตที่ทาหน้าที่รู้กับเวทนา อันไหนกว้างกว่า กันในอีกความหมายหนึ่งก็คือว่า จิตกับเวทนาอันไหนมีกาลังมากกว่ากัน
เราจะเห็นว่าเมื่อไหร่ก็ตามที่จิตกว้างกว่าเวทนาหรือใหญ่กว่าเวทนา จิตจะมีกาลังมากกว่าเวทนา เวทนานั้นจะอ่อนกาลังลง และเวทนานั้นจะไม่บีบคั้นจิตใจ หรือจะบีบคั้นจิตใจได้น้อย ตรงนี้เป็นการแยก จติ กบั เวทนาออกจากกนั การแยกจติ กบั เวทนาออกจากกนั แบบนเี้ปน็ สภาวธรรมตรงไหน?เปน็ สภาวธรรม ตรงที่ว่า ระหว่างจิตกับเวทนานี่ ถ้าจัดเป็นขันธ์ก็คือการแยกระหว่าง “วิญญาณขันธ์” กับ “เวทนาขันธ์” เวทนาขันธ์ คือความปวดที่เกิดขึ้น ตัววิญญาณขันธ์ ก็คือตัวจิตที่ทาหน้าที่รู้ การเห็นชัดถึงความเป็นคนละ ส่วนตรงนี้ เราเห็นอะไร ?