Page 86 - มิติธรรม
P. 86

80
เขมแข็ง ความดีตองอาศัยความเบาของจิต ในทางตรงกันขาม ผลฝายอกุศลตองอาศัยความหนักของจิตชวยหนุน ความหนักความ เบาของจิตจึงเปนปฏิปกษตอกัน ความหนักเบาของจิตมีผลตอ พฤติกรรม พฤติกรรมแตกตางกันมาก เกิดจากความหนักเบาของจิต ที่แตกตางกันมาก
เมื่อมีโอกาสเขาถึงบุญทั้ง ๓ ขณะ จึงควรใชพฤติกรรมบุญเขา ชวย ดวยการสรางบรรยากาศของบุญใหมีกําลังจนเกิดเปนพลัง (ดูวิธีสรางพลัง) พลังบุญมีลักษณะ ละเอียด ผองใส สดชื่น ออนโยน อบอุน เขมแข็ง ฯลฯ ชวยทําใหบานสงบ สะอาด นาอยู เหมือนได พักผอนอยูตลอดเวลา จิตที่ไดรับการพักผอนเต็มที่จะเกิดความเขม แข็งในการทําความดี
แลวบุญเริ่มตนไดอยางไร ? กอนทําบุญตองมีความศรัทธา ศรัทธาในพระพุทธ ศรัทธาในองคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ศรัทธา ในคําสั่งสอนของพระองค พระองคทรงสอนใหเปนคนดี มีสัมมาคารวะ รูจักแยกแยะ ผิด ชอบ ชั่ว ดี รูจักครองตน รูจักเสียสละ เสียสละ ความสุขสวนตัว เสียสละปจจัย เสียสละกิเลสที่อยูในใจ เพราะรูจัก เสียสละ (ทําบุญ) ศาสนาพุทธจึงยังคงตั้งอยูจนถึงทุกวันนี้ คําสอน ของพระองคจึงยังมีอยู ทําใหมีโอกาสไดฟงธรรมะตั้งแตเบื้องตนจน ถึงที่สุด
เมื่อมีความเขาใจแลวคิดจะทําบุญเมื่อไร บุญจึงเกิดในทันที เมื่อบุญเกิดขึ้นแลวตองรักษาบุญเอาไวดวย เหตุที่ทําบุญแลวไมเกิด ความรูสึกไดบุญ เปนเพราะขาดความเขาใจอยางหนึ่ง อยากเห็นเปน รูปธรรมเร็ว ๆ อีกอยางหนึ่ง ตองทําความเขาใจเสียกอนวา รูปธรรม เปนของหนัก เพราะฉะนั้นบุญจึงตองอาศัยนามธรรมซึ่งเปนของเบา


































































































   84   85   86   87   88