Page 28 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 28

888
ขนั ธท์ งั้ หลายเปน็ ทตี่ งั้ แหง่ กองทกุ ข์ ขนั ธท์ งั้ หลายเปน็ ของไมเ่ ทยี่ ง เปน็ ทกุ ข์ เปน็ อนตั ตา ไมใ่ ชต่ วั ตนของเรา บังคับบัญชาเขาไม่ได้ ก็ย่อมเปลี่ยนแปลงไปอย่างนี้
เพราะฉะนนั้ การทเี่ รามาระลกึ ถงึ องคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ในวนั สา คญั วนั นี้ กค็ วรทจี่ ะระลกึ ถึงธรรมะคาสอนที่เป็นสัจธรรมที่พระองค์ทรงตรัสรู้ และมีพระมหากรุณาธิคุณที่จะประกาศสัจธรรมนั้น ให้ชาวโลกทั้งหลายได้รับรู้ถึงความเป็นจริงข้อนี้เพื่อความพ้นทุกข์ของผู้ที่ได้ศึกษาและนาไปปฏิบัติ การ ปฏิบัติธรรมเป็นไปเพื่ออะไร ? เพื่อความดับทุกข์ ถ้าความดับทุกข์เป็นเป้าหมายหลัก เพราะฉะนั้น เมื่อมี ผัสสะ/มีอารมณ์ที่เข้ามากระทบทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ แล้วมีความทุกข์เกิดขึ้น ก็ให้พิจารณาดูว่า ทาไมต้องทุกข์ หรือเข้าไปกาหนดรู้ว่าเราจะดับทุกข์ได้อย่างไร
ทถี่ามวา่ทาไมตอ้งทกุข.์..ไมใ่ช่“เพราะ”อารมณเ์หลา่นนั้ แตท่าไมเราตอ้งทกุข์“กบั”อารมณเ์หลา่นนั้ ? ถา้ ตงั้ คา ถามแบบนี้ จะทา ใหเ้ ราพจิ ารณาสา รวจดตู วั เองไดม้ ากขนึ้ วา่ เพราะมเี รา เพราะไมร่ ู้ เพราะมอี วชิ ชา ครอบงา จึงทาให้ทุกข์กับอารมณ์ที่เข้ามากระทบ เพราะฉะนั้น เหตุที่ทาให้ทุกข์คืออะไร ? เหตุแห่งทุกข์คือ อวิชชา พระพุทธเจ้าเคยถามภิกษุว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทุกข์ใครเป็นคนทาให้...” ภิกษุบางรูปก็บอกว่า “ทุกข์เกิดจากเราทาเอง” พอพระพุทธเจ้าบอกว่า “ไม่ใช่” ภิกษุอีกรูปหนึ่งก็ตอบว่า “ทั้งตัวเราและผู้อื่นเป็น ผู้กระทา” เหมือนกับต้องมีคู่กรณีความทุกข์ถึงจะเกิดขึ้นได้ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า “ไม่ใช่” ภิกษุอีกรูปหนึ่ง ก็บอกว่า “เป็นเพราะว่าบุคคลอื่นทาให้...จึงทุกข์” พระพุทธเจ้าก็ตอบว่า “ไม่ใช่”
ในเมื่อไม่ใช่ทั้งตัวเอง ไม่ใช่ทั้งผู้อื่น และไม่ใช่ทั้งตนเองและผู้อื่น เป็นผู้กระทา แล้วอะไรทาให้เป็น ทุกข์ ? พระพุทธเจ้าทรงเฉลยว่า เพราะอวิชชา เพราะความไม่รู้ ไม่เห็นถึงสัจธรรมที่กาลังเป็นอยู่จริง ๆ จึงทาให้ความทุกข์เกิดขึ้นมา สิ่งที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ สิ่งที่พระองค์นามาแสดงหรือสอน พูดถึงกฎของ ไตรลักษณ์ พูดถึงความเป็นอนิจจัง-ทุกขัง-อนัตตาของอารมณ์ที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นอารมณ์ภายนอก หรือภายในก็ตาม นั่นคือสัจธรรมที่เราทุกคนสามารถพิสูจน์ได้ และพูดถึงรูปนามขันธ์ห้า รูปกับนาม เป็นคนละส่วนกัน รูปกับนามเป็นคนละอย่างกัน ขันธ์ต่าง ๆ ก็เป็นคนละส่วนกัน แต่เพราะมีขันธ์ตรงนี้ เกิดขึ้น จึงเข้าไปยึด
ถามว่า ขันธ์ตรงนี้ประกาศความเป็นใหญ่พร้อมกันไหม ? บางครั้งไม่เลย บางครั้งความคิด ที่เรียก ส งั ข า ร ข นั ธ ์ ท า ห น า้ ท เี ่ ป น็ ใ ห ญ ข่ นึ ้ ม า ค ดิ แ ล ว้ ป ร งุ แ ต ง่ ไ ป ต า่ ง ๆ น า น า . . . แ ล ว้ ค น เ ร า พ อ ไ ม ม่ ปี ญั ญ า ถ กู อ ว ชิ ช า ครอบงา ก็เข้าไปยึดว่าความคิดเหล่านั้นเป็นตัวเรา เป็นของเรา ปรุงแต่งไป... บางครั้งคิดเอง เออเอง ทกุ ขเ์ อง...แบบนกี้ ม็ มี ากมาย ทกุ ขเ์ พราะความไมเ่ ขา้ ใจ ไปยดึ เอาความคดิ วา่ เปน็ ตวั เราของเรา เพราะฉะนนั้ การจะไม่ทุกข์กับความคิดนั้นทาอย่างไร ? ก็ให้พิจารณาความเป็นธรรมชาติ ความเป็นจริงว่าความคิดก็ เป็นขันธ์ขันธ์หนึ่ง ความคิดก็ไม่เที่ยง ไม่ใช่ตัวตน ไม่ใช่ของเรา
แต่ความคิดก็ทาตามหน้าที่ของตน ความคิดย่อมทาหน้าที่ของความคิด จึงเรียกว่า “ความคิด” ถ้าไม่คิดก็คงไม่เรียกว่าความคิด ถ้าไม่เกิดขึ้นก็จะเรียกว่ามีความคิดก็ไม่ได้ แต่ความคิดที่เกิดขึ้นก็มี ทั้งคุณและโทษ ทาไมความคิดถึงมีทั้งคุณและโทษ ? เพราะความคิดอาศัยเหตุปัจจัยอย่างใดอย่างหนึ่ง


































































































   26   27   28   29   30