Page 29 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 29
889
เกิดขึ้นมา ถ้ามีปัญญา รู้จักวิเคราะห์ รู้จักคิด รู้จักเลือกใส่ใจจุดสาคัญหรือประเด็นที่เป็นประโยชน์ ก็จะ เป็นคุณแก่บุคคลนั้น ๆ แต่ถ้าความคิดเกิดขึ้น แล้วไม่มีปัญญา หรือมีอวิชชาเกิดขึ้น ถูกครอบงาด้วย โลภะหรือโทสะอย่างใดอย่างหนึ่ง ความคิดนั้นก็ส่งผลให้เป็นโทษแก่บุคคลนั้น ๆ เช่นเดียวกัน
เพราะฉะนั้น อารมณ์ที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นความคิด ไม่ว่าจะเป็นเวทนา ก็เป็นสภาวธรรม เป็น ธรรมชาติอย่างหนึ่ง ตรงนี้แหละที่เราพึงพิจารณาให้เห็นตามความเป็นจริง บุคคลพึงน้อมนาธรรมะคาสอน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาทบทวนในเวลาที่เจอผัสสะทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ แล้วมี เวทนาเกดิ ขนึ้ ไมว่ า่ จะเปน็ ทกุ ขเวทนาหรอื สขุ เวทนาหรอื อเุ บกขาเวทนากต็ าม พจิ ารณาถงึ เหตปุ จั จยั ถงึ ความ เป็นไป มีผัสสะแบบนี้ขึ้นมา...ทาไมความทุกข์ถึงเกิดขึ้น ? มีผัสสะแบบเดิมขึ้นมา...ทาไมไม่ทุกข์กับผัสสะ นั้น ? หรือมีผัสสะแบบเดิมเกิดขึ้นมา นอกจากไม่ทุกข์แล้วยังมีความสุขอีก ? นี่คือการพิจารณา
การพิจารณาแบบนี้เป็นการพิจารณาสภาวธรรม อะไรเป็นเหตุเป็นปัจจัยให้ความทุกข์หรือไม่ทุกข์ เกิดขึ้น อันนี้พูดในลักษณะเป็นอารมณ์เดียวกัน บางขณะทาให้เกิดทุกข์ บางขณะทาให้จิตวางเฉยได้ แต่ บางขณะทาไมจิตจึงมีความสุขกับอารมณ์นั้นได้... ความสุขที่เกิดขึ้น เกิดเพราะอารมณ์อันนั้น หรือเกิด เพราะมีสติ สมาธิ มีปัญญา มีความรู้ชัดในอารมณ์นั้น ๆ รู้ถึงคุณและโทษของอารมณ์นั้น ๆ จึงทาให้เกิด มีความสุขความสบายใจได้ ไม่ทุกข์กับอารมณ์นั้นได้ ? นี่คือยกตัวอย่างว่าพิจารณาอย่างไร เพราะฉะนั้น การพิจารณาความจริง ถึงอาการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไปของอารมณ์ต่าง ๆ ไม่ใช่ตัวเรา ไม่ใช่ของเรา เป็น สภาวธรรมอย่างหนึ่ง ตรงนี้แหละที่เห็นแล้วดับทุกข์ได้
ทาไมเห็นแล้วทุกข์ถึงดับไป ? เพราะเห็นสัจธรรมความจริง ถ้าพิจารณาดี ๆ เราจะเห็นว่า ทุกครั้ง ที่เห็นว่าความคิด/อารมณ์ที่เกิดขึ้น กับจิตที่ทาหน้าที่รู้ เป็นคนละส่วน และรับรู้อย่างไม่มีเรา ไม่มีตัวตน ม แี ต ส่ ต -ิ ส ม า ธ -ิ ป ญั ญ า ท มี ่ กี า ล งั ใ น ก า ร ร บั ร อ้ ู า ร ม ณ ์ เ ร า จ ะ บ อ ก ต น เ อ ง ไ ด ท้ นั ท วี า่ ไ ม ท่ กุ ข ก์ บั อ า ร ม ณ น์ นั ้ ไ ม ท่ กุ ข ์ กับผัสสะที่เกิดขึ้น และเห็นชัดขึ้นอีกว่านอกจากไม่ทุกข์แล้วจิตใจเป็นอย่างไร...จิตยังรู้สึกเป็นความเบา ความสบาย กลายเป็นความสุขเกิดขึ้นมา นี่แหละคือการพิจารณาสัจธรรมที่เกิดขึ้นจริง ๆ และสิ่งน้ีควร พิจารณาอย่างต่อเนื่องอยู่เนือง ๆ บ่อย ๆ ให้เป็นเรื่องปกติของชีวิตเรา
อารมณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะตอนที่เรานั่งหลับตา เกิดทางตา...ก็ตอนที่ลืมตาในชีวิต ประจาวัน เกิดทางลิ้น...ก็ตอนที่เรารับรู้ถึงรสชาติที่เกิดขึ้นทางลิ้นของเรา ผัสสะเหล่านี้ส่งผลทาให้จิตใจ เป็นอย่างไร มีความทุกข์ มีความสุข หรือมีความเฉย เพราะฉะนั้น การพิจารณาถึงความเกิดขึ้น-ตั้งอยู่- ดับไป ความเป็นธรรมชาติของอารมณ์ที่เกิดขึ้น จะทาให้เราดับความทุกข์ได้ อย่างที่บอกแล้วว่า รู้ว่าทุกข์ รู้เหตุให้เกิดทุกข์ รู้วิธีปฏิบัติถึงความดับทุกข์ รู้วิธีการละอวิชชา แต่การที่จะละอวิชชาได้จริง ๆ ก็ต่อเมื่อเรา ได้เห็นสัจธรรม ได้เห็นความเป็นจริงที่เกิดขึ้น คือกฎไตรลักษณ์ การเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป ให้ชัดเจนแจ่ม แจ้ง ตรงนั้นจิตจะคลายอุปาทานด้วยตัวเอง นี่แหละเป็นสิ่งสาคัญ
ในวันสาคัญแบบนี้ที่เราชาวพุทธทั้งหลายเข้ามาประชุมรวมกัน หรือมีสถานที่อันสัปปายะเกื้อกูล แก่การปฏิบัติธรรมและระลึกถึงองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็สามารถทาได้ ในวันสาคัญอย่างวันนี้