Page 34 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 34

894
สภาวธรรมอย่างหนึ่ง เป็นขันธ์ขันธ์หนึ่งที่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป เข้าไปยึดเอาว่าเป็นของเราไม่ได้ เกิดขึ้นมา แล้วทาหน้าที่ของตนของตนไป
เมื่อเห็นว่าสังขารขันธ์ก็ส่วนหนึ่ง จิตที่ทาหน้าที่รู้ก็ส่วนหนึ่ง แล้วเห็นชัดถึงความจริงข้อนี้ว่า สังขาร ขนั ธก์ ม็ กี ารเกดิ ขนึ้ -ตงั้ อย-ู่ ดบั ไป และจติ ทที่ า หนา้ ทรี่ ไู้ มค่ ลอ้ ยตาม ไมไ่ หลตาม ไมห่ ลงเขา้ ไปยดึ วา่ ความคดิ เป็นของเรา เมื่อกาหนดรู้ชัดอย่างนี้ ลองดูว่า สภาพจิตใจเป็นอย่างไร ? ขันธ์อันนั้นมาครอบงาจิตใจทาให้ อกุศลหรือความทุกข์เกิดขึ้นได้ไหม ? แล้วพิจารณาดูว่าขันธ์อันนั้นที่กาลังปรากฏเป็นของเที่ยงหรือเกิด ขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป ? เห็นไหม ทุกขลักษณะของขันธ์ที่กาลังปรากฏ เกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป ไม่ใช่ทุกขเวทนา เพราะสังขารการปรุงแต่งก็อย่างหนึ่ง ทุกขเวทนาก็อย่างหนึ่ง
เพยี งแตว่ า่ เมอื่ ไหรก่ ต็ ามทเี่ ผลอเขา้ ไปยดึ วา่ สงั ขารขนั ธน์ นั้ เปน็ ตวั เราของเรา เมอื่ สงั ขารนนั้ เปลยี่ นไป ไม่เป็นอย่างที่ปรารถนา ทุกขเวทนาก็เกิดขึ้น ความทุกข์เกิดขึ้นเพราะเข้าใจผิดคิดว่าขันธ์นั้นเป็นของเที่ยง เป็นของเรา ขันธ์ก็เป็นส่วนหนึ่งแต่ทุกขเวทนาก็เป็นอีกส่วนหนึ่ง ขันธ์นั้นเป็นเหตุเป็นปัจจัยให้ความทุกข์ เกิดขึ้นเท่านั้น อะไรเป็นเหตุให้ทุกข์ ? เพราะความไม่รู้ว่าสังขารขันธ์นั้นก็ไม่ใช่ของเรา สังขารขันธ์เกิดขึ้นมา ทาหน้าที่ของตน และเพราะความไม่รู้หรือมีอวิชชาปิดบังนี่แหละ พอมีสังขารขันธ์ปรากฏขึ้นมา ก็ไปยึดว่า เป็นตัวเราของเรา ว่าเป็นของเที่ยง พอคิดว่าเขาต้องเที่ยงต้องเป็นอย่างนี้ เมื่อสังขารขันธ์นั้นมีการ เปลี่ยนแปลง ไม่เป็นไปอย่างที่คิด กลายเป็นว่าปรารถนาสิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้น...ก็เป็นทุกข์
ทีนี้ลองพิจารณาดูว่า สังขารขันธ์กับทุกขเวทนาที่เกดิ ขึ้นเป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน และ พิจารณาต่อไปจะเห็นว่า สังขารขันธ์เป็นเพียงปัจจัยหนึ่ง แต่ความทุกข์เกิดขึ้นมาเพราะความไม่รู้ สังขาร ขนั ธห์ รอื ความคดิ ปรงุ แตง่ ทกี่ า ลงั ปรากฏขนึ้ มานนั้ ไมใ่ ชข่ องเราไมใ่ ชต่ วั เรา จติ ทที่ า หนา้ ทรี่ กู้ ท็ า หนา้ ทรี่ ู้ มแี ต่ สติตามกาหนดรู้ถึงขันธ์ที่เกิดขึ้น ทีนี้ความพิเศษอีกอย่างหนึ่งก็คือว่า วางตาแหน่งของสติอย่างไรเพื่อไม่ ให้ไหลตามสังขารขันธ์หรือการปรุงแต่งทางจิตที่เกิดขึ้น ? วางตาแหน่งของสติอย่างไร หมายถึงเราวางจิต อยา่ งไรถงึ จะไมค่ ลอ้ ยตาม ไมเ่ ผลอไหลตามอารมณอ์ นั นนั้ หรอื วางจติ อยา่ งไรความคดิ นนั้ ถงึ จะไมค่ รอบงา จิตใจของเรา
เมื่อเรามีปัญญาสามารถแยกชัดว่าสังขารขันธ์กับจิตที่ทาหน้าที่รู้เป็นคนละส่วนกัน พิจารณาต่อว่า เมื่อตัวจิตที่ทาหน้าที่รู้แยกจากอารมณ์แล้ว จิตตรงนั้นเป็นอย่างไร... กว้างแค่ไหน มีอานุภาพแค่ไหน มี ขอบเขตไหม ? ถ้ากาหนดรู้จิตที่ทาหน้าที่รู้จะเห็นว่า จิตที่ว่างที่เบาที่ไม่มีอุปาทานแล้วนั้น มีความว่าง ไม่มี ขอบเขต มีอิสระในตนเอง แล้วลองดูว่า จิตที่ว่าง จิตที่เบา จิตที่มีอิสระในตนเอง สามารถเคลื่อนย้ายที่ได้ ไหม ? การที่ถามแบบนี้เพ่ือที่เราจะได้พิจารณาด้วยตัวเราเองว่า ถ้าจิตที่ว่างแล้วสามารถเคลื่อนย้ายที่ได้ เราก็สามารถวางตาแหน่งของสติให้อยู่ใกล้อารมณ์หรือห่างอารมณ์แค่ไหนก็ได้ เพราะฉะนั้น ให้สังขารการ ปรุงแต่งหรือให้ความคิดนั้นห่างตัวออกไป ไกลออกไป ๆ
พอความคิดอยู่ห่างออกไป จิตที่ทาหน้าที่รู้กับความคิดยิ่งมีช่องว่าง นั่นคือจิตกับอารมณ์ที่เกิดขึ้น มีช่องว่างมากขึ้นกว้างขึ้น จิตที่ทาหน้าที่รู้มีกาลังมากกว่าตัวสังขารที่กาลังปรุงแต่ง และเมื่อสังขารที่กาลัง


































































































   32   33   34   35   36