Page 36 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 36

896
แต่ว่าโดยสภาวธรรม การที่จะออกจากทุกข์หรือดับทุกข์อย่างสิ้นเชิง ต้องพิจารณาถึงสัจธรรม ถึงอาการพระไตรลักษณ์ที่เกิดขึ้น การที่เราพิจารณาถึงขันธ์ทั้งห้าถึงการเกิดดับตรงนี้...เป็นอะไร ? นี่คือ สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ปรมัตถ์ อารมณ์ปรมัตถ์เป็นสภาวธรรมที่ละเอียด เมื่อสภาวธรรมละเอียด อาการ พระไตรลักษณ์คือการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไปนั้นจะเห็นได้ง่าย ถ้าเป็นของหยาบก็จะเห็นได้ยาก มีการเกิด ขึ้นแล้ว...กว่าที่จะดับไปก็ใช้เวลานาน อย่างอาคารบ้านเรือน วัตถุที่เป็นของหนักต่าง ๆ กว่าที่เขาจะดับไป เสื่อมไปก็ใช้เวลานาน บางครั้งนานกว่าชีวิตของคน แต่ถ้าเราพิจารณาให้ใกล้เข้ามา เป็นของละเอียดขึ้น ก็ คือชีวิตคนเรานี่แหละ เป็นของบอบบาง มีการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป ให้เรารับรู้ได้ตลอดเวลา...
ชีวิตของสัตว์โลกหรือมนุษย์นั้นเป็นของบอบบาง เปรียบเหมือนกับน้าค้างในยามเช้า เมื่อแดดออก ขนึ้ มากส็ ลายไป ละลายไป หายไปกบั อากาศ ชวี ติ คนเรากเ็ หมอื นกนั ชวี ติ ของเราสนั้ ไมต่ งั้ มนั่ รปู อนั นไี้ มไ่ ด้ เป็นของถาวร ไม่ได้เป็นอมตะ แต่เป็นความเปลี่ยนแปลง เป็นความเสื่อมไป เสื่อมไปเร็วขนาดนี้บางที เราก็ยังไม่เห็นชัด แต่อาการของรูปนามขันธ์ห้าที่เป็นสภาวธรรมที่เป็นปรมัตถ์ เป็นความรู้สึก เป็นเวทนา ที่เกิดขึ้นมานั้น ละเอียดและเกิดดับเร็ว ตรงนี้แหละที่เรานามาพิจารณา ทาให้เกิดปัญญาที่ทาให้เราเข้าใจ ถึงสัจธรรมได้เร็วขึ้น เพื่อการละ ละจากละเอียดไปหาหยาบ...
พอละตรงนี้ได้ มีปัญญาเห็นสัจธรรมความจริงตรงนี้ได้แจ่มแจ้งชัดเจนมากเท่าไหร่ อุปาทานการ ที่จะเข้าไปยึดสิ่งที่เป็นบัญญัติที่เป็นของหนักเป็นของใหญ่ก็จะคลายไป คลายไป คลายไป... เพราะของ ละเอียดยังละได้ ของหยาบก็จะเป็นของที่ละได้ง่ายยิ่งข้ึนไป เพราะฉะนั้น เพราะเหตุนี้แหละเวลาเรา ปฏิบัติธรรม—อย่างที่เราน่ังกรรมฐานนี่—จะพิจารณาอะไร ? การเจริญกรรมฐานจึงมาพิจารณาอาการ พระไตรลักษณ์ของรูปนามขันธ์ทั้งห้า นี่คือสัจธรรม/สภาวธรรมที่พระองค์ได้ทรงตรัสรู้แล้ว และได้ชี้ให้ เราพิจารณาเห็นความจริงข้อนี้ เพื่อละ เพื่อคลายอุปาทาน เพื่อการดับทุกข์อย่างสิ้นเชิง
ขณะที่พิจารณาถึงความเป็นไปของรูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ บางทีเราเห็นถึง ความไม่เที่ยงของขันธ์ทั้งสี่ แต่ลืมพิจารณาว่าแม้ตัววิญญาณขันธ์เอง ตัวจิตที่ทาหน้าที่รู้เอง ก็ยังมีการ เปลี่ยนแปลงมีการเกิดดับ ไม่ต่างจากขันธ์ทั้งสี่นั้นเลย แต่เมื่อไม่มีเจตนาหรือไม่ได้ใส่ใจที่จะพิจารณาว่า ตัววิญญาณขันธ์นั้นเกิดดับด้วยหรือไม่ จึงกลายเป็นว่าวิญญาณขันธ์เป็นผู้รับรู้อย่างเดียว เป็นตัวตั้งอยู่ ตลอดเวลา เมื่อเป็นแบบนั้นก็ยึดเอาวิญญาณขันธ์นั้นมาเป็นตัวเราเป็นของเรา เราเป็นผู้รู้ เราเป็นผู้ดู เรา เป็นผู้เห็น เราไม่ได้เป็นอะไร แต่เราก็เป็นตัววิญญาณ วิญญาณนั้นเป็นเราอยู่
แต่ถ้าพิจารณาตรงที่ว่า เมื่อขันธ์ต่าง ๆ หรือสภาวธรรมในแต่ละขณะดับไป จิตที่ทาหน้าที่รู้ก็ดับ ไปด้วย แล้วก็เกิดใหม่ขึ้นมา ดูซิว่าอะไรเป็นเรา ? ตรงนี้ยิ่งเห็นชัดว่าไม่มีอะไรเป็นของเที่ยง แม้แต่จิตที่ทา ห น า้ ท รี ่ ก้ ู เ็ ป น็ ไ ป ต า ม เ ห ต ปุ จั จ ยั ข อ ง ต น ต วั ว ญิ ญ า ณ ข นั ธ เ์ ก ดิ ข นึ ้ ม า - ท า ห น า้ ท รี ่ บั ร -้ ู แ ล ว้ ด บั ไ ป จ ติ ด ว ง ใ ห ม เ่ ก ดิ ขึ้นมา-ทาหน้าที่รับรู้-แล้วก็ดับไป ๆ ทาหน้าที่ต่อเนื่องกันไม่ขาดสาย เปรียบเหมือนกับแสงไฟที่สว่างตลอด เวลา แต่โดยสภาวะแล้วมีการเกิด-ดับต่อเนื่องกันไม่ขาดสายนั่นเอง จึงทาให้เรารู้ถึงความสว่างตลอดเวลา ตอ่ เมอื่ กระแสนนั้ ออ่ นกา ลงั ลง เราถงึ จะเหน็ วา่ แสงไฟนนั้ มอี าการกระพรบิ ๆ ๆ ๆ ไมต่ อ่ เนอื่ ง มอี าการเกดิ -ดบั


































































































   34   35   36   37   38