Page 91 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 91

951
อาการทางกาย พิจารณาอาการทางกายก่อน เพราะอะไร เพราะว่าอาการทางกายเป็นอารมณ์ที่ยังหยาบอยู่ ที่สามารถกาหนดรู้ได้ง่าย ไม่ว่าจะเป็นลมหายใจ เป็นอาการพองยุบ เป็นอาการเต้นของหัวใจ ความเย็น ร้อน อ่อน แข็ง เคร่งตึง หนัก เบา อย่างที่กล่าวมาแล้ว เพราะอาการทางกายจะปรากฏเกิดขึ้นเป็นปกติ ยัง เป็นของหยาบอยู่
แตถ่ า้ ผปู้ ฏบิ ตั มิ กี า ลงั มากขนึ้ จนเพกิ บญั ญตั ไิ ดแ้ ลว้ คอื ปฏบิ ตั แิ ลว้ ยกจติ ขนึ้ สคู่ วามวา่ งได้ ทา จติ ให้ ว่าง แยกรูปแยกนาม ทาจิตให้ว่างได้ ตัวหายไป ๆ ว่างไป ตรงนั้นก็อาศัยอารมณ์ปรมัตถ์ไป อาการอารมณ์ ปรมัตถ์คือ อาการเกิดดับของอารมณ์ที่เกิดขึ้น ที่เป็นสภาวะที่ละเอียดต่อไปได้เลย อันนั้นคือ มีเจตนาที่จะ รู้อาการเกิดดับเมื่อไหร่ ก็จะเป็นการยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนา แต่ถ้าเรารู้ว่า เบื้องต้นตามกาหนดรู้อาการที่ไหน อาศัยอะไรเกิด
อย่างเช่น อาการทางกาย ขณะที่เรายกจิตขึ้นสู่ความว่างแล้ว บริเวณตัวไม่มีตัว ยกจิตขึ้นสู่ความ ว่าง จิตก็ว่าง ตัวก็หายไป แต่รู้สึกว่าบริเวณตัว บริเวณกาย มีอาการกระเพื่อม มีอาการไหว มีอาการเกิด ดับแว็บ ๆ ระยิบระยับ วูบวาบเกิดขึ้นมา นั่นก็คืออาการทางกาย แต่เป็นอารมณ์ที่ละเอียด ไม่มีรูปร่างของ กาย แต่อาศัยกายเกิดขึ้นมา จึงเป็นอาการทางกายอย่างหนึ่ง ที่ทาไมถึงเรียกว่าเป็นอารมณ์ปรมัตถ์ เพราะ ไม่มีรูปร่างสัณฐาน เป็นเพิกบัญญัติ ความเป็นกลุ่มก้อนของรูปนี้หายไป
ความเปน็ บญั ญตั ิ ฆนบญั ญตั ิ คอื ความเปน็ กลมุ่ เปน็ กอ้ นของรปู นหี้ ายไป จงึ เหลอื แคอ่ าการทปี่ รากฏ เกิดขึ้นมา ให้ได้รู้ ให้ได้รับรู้ว่า มีการเปลี่ยนแปลงเกิดดับอย่างนี้ ถ้าเป็นอย่างนั้น ก็ตามกาหนดรู้อาการเกิด ดบั นนั้ ไป โดยทไี่ มต่ อ้ งกลบั ไป...ยอ้ นกลบั ไปหาลมหายใจ ยอ้ นกลบั ไปหาอาการพองยบุ ยอ้ นกลบั ไปหาอาการ เคร่งตึง คือรู้อารมณ์ปัจจุบัน อารมณ์ปัจจุบันที่กาลังปรากฏเป็นอย่างไร ก็กาหนดรู้ตามนั้นไป นี่อย่างหนึ่ง
อีกอย่างหนึ่ง ก็คืออาการของเวทนา ที่เรียกว่า เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน เวทนานุปัสสนาสติ- ปัฏฐาน เวทนามีอยู่ ๒ อย่าง สองอย่าง แยกเป็น ๒ ส่วนสาคัญ ก็คือเวทนาทางกาย อย่างหนึ่ง เวทนา ทางจิต อีกอย่างหนึ่ง ในส่วนของเวทนาทางกาย เราก็แยกกัน ก็มีความแตกต่างที่แยกออกไป หนึ่งก็คือ ความปวด ความปวดทางกาย ตามร่างกายที่เกิดขึ้นมา เพราะความปวดก็มีลักษณะที่แตกต่างกันไป พอ มีสภาวญาณเปลี่ยนไป สติ สมาธิ มีกาลังมากขึ้น มีปัญญาแต่ละขณะที่เกิดข้ึนมา ที่ต่างไป ความละเอียด ต่างไป ลักษณะของอาการของเวทนาก็จะต่างไป
เพราะฉะนั้น เราจึงแยกความปวด ความปวดที่เกิดขึ้นตามร่างกาย ตรงนี้จัดเป็นเวทนาทางกาย พอเวลาเจริญกรรมฐาน นั่งแล้วมีความปวดเกิดขึ้น บริเวณหัวเข่า ที่หลัง ที่ไหล่ ที่ศีรษะ หรือที่จุดไหน ตามร่างกายที่เกิดขึ้นมา ตรงนั้นเรียกว่าเวทนาทางกาย ถึงแม้ว่า ในบางขณะไม่มีรูปร่างของกาย แต่รู้สึกว่า บริเวณร่างกายนั้นมีเวทนาเกิดขึ้น ตรงนั้นเรียกว่าเวทนาทางกาย เวทนาทางกายที่บอกว่าต้องแยกกันก็คือ หนึ่ง ความปวดที่เกิดขึ้นมา มีความแตกต่าง แตกต่างอย่างไร แตกต่างถึงลักษณะของตัวอาการ ของความ ปวดเองอย่างหนึ่ง คือมีแผ่น เป็นแผ่น เป็นก้อน เป็นแท่ง เป็นเส้น อันนี้ก็คือความแตกต่างของความปวด ถึงลักษณะของความปวดที่ต่างไป


































































































   89   90   91   92   93