Page 139 - มรรควิถี
P. 139

เสื่อมเร็ว เสื่อมไปเร็ว ก็เกิดอาการมีโรคภัยไขเจ็บขึ้นมา เมื่อมีโรคภัยไขเจ็บ รางกายก็เกิดการทุกขทรมาน มีอาการเจ็บมีอาการปวด มีอาการเมื่อย มีอาการชา ตรงนี้จัดเปนทุกขทางกาย ไมวาจะปวดมากหรือปวดนอย ดวยความปวดทางกายเมื่อมีกาย ความปวดทางกายเนี่ยถาเราไมสามารถ แยกไดวา ระหวางกายกับใจเปนสวนเดียวกันเปนอันเดียวกัน หรือวา เปนคนละสวนเปนคนละอยางกัน
ความปวด หรือเวทนาทางกายที่เกิดขึ้น ไมวาจะเปนการปวดการเมื่อย ปวดดวยอะไรก็ตาม ปวดดวยเหตุใดก็ตาม ก็จะเปนตัวบีบคั้นจิตใจของเรา นะ ปวดเมื่อยขึ้นมาก็ทําใหเรารูสึกหงุดหงิดรําคาญ ปวดจากอาการเจ็บไข ไดปวย ก็จะทําใหจิตใจเราขุนมัวเศราหมองไปดวย เกิดอาการหงุดหงิดหรือ รําคาญเกิดขึ้น ไมวาจะเปนปวดดวยการเจ็บไข ดวยโรคที่รายแรงหรือ ไมรายแรง แตเมื่อเกิดขึ้นแลวก็จะทําใหเราเกิดอาการหงุดหงิด ไมสบายตัว ไมสบายใจ เกิดความรําคาญ แคมีอะไรมากระทบนิดหนอยก็จะเกิดมีเวทนา จะมีอาการปวดขึ้นมา มีอาการเจ็บขึ้นมา พระพุทธเจาบอกวารูปนี้รางกาย นี้เปนสิ่งที่บอบบางนัก กระทบอะไรนิดหนอยก็ไมได เกิดการชํารุด เกิดการ เสื่อม อยางเราเดินไปสะดุดกอนหินสักกอนหนึ่ง เดี๋ยวก็เทาแตกแลว เดินสะดุดทีเล็บหลุด แคเล็บหลุดนิดหนึ่งก็รูสึกทรมานรูสึกปวดเหลือเกิน นั่นคือความทุกข รูเวทนาทางกาย เปนทุกขทางกายนะ
เวทนาทางกายอันนี้ ถาเรามีปญญาหรือมีสติกําหนดรูถึงความเปน คนละสวนระหวางกายกับใจ เวทนาทางกายไมสามารถทําใหจิตเราขุนมัว หรือเศราหมองได อยางเชน ขณะที่เราเดินสะดุดกอนหิน เรารูวาพอสะดุด กอนหิน เทาเราแตก หรือวามีอาการถลอกหรือเล็บหลุด เรารูชัดถึงวามัน แคปวดทางกาย จิตใจเราไมทุกข จิตใจเราก็ยังสงบหรือวางได เบาได ถา แยกออกระหวางกายกับใจเปนคนละสวน ใจจะไมทุกขไปดวย เปนแค เวทนาทางกายเทานั้น เขาเรียกวาเปนแคทุกขเวทนาทางกาย ไมใชทุกข
125


































































































   137   138   139   140   141