Page 20 - มรรควิถี
P. 20
6
เหมือนเดิม สภาวะก็ยังติดอยูที่เดิม เราเลาไดถูกแตสภาวะไมใช สภาวะ จะเปนตัวรับรอง เพราะฉะนั้นหลักจึงเปนสิ่งสําคัญ บางครั้งที่แนะให ไปดู ไมไดดู พอกลับมาสงอารมณอีกที ไมรูไปจับตรงไหนมา ที่ใหไปดู หายหมด ที่ใหดูไมเลา
เมื่อหลักหายไปแลว จิตจะสะเปะสะปะ เมื่อไมอยูกับหลักสภาวะ ก็ไมชัด หลักที่ใหก็ใชวาจะเหมือนกันหมด หลักที่ใหจะเปนฐานรองรับ สภาวะขั้นตอไป อันนี้บอกวิธีปฏิบัติ วิธีสงอารมณ ถาสงสัยก็ถามได มี สภาวะอยางนี้ควรจะทํายังไง ? หรือปฏิบัติยังไง ? บางครั้งขณะที่เลาไป อาจารยก็บอก ตรงนี้ตองทําอยางนั้น เราก็เลาของเราไป อาจารยก็สอน ก็แนะไป พอพูดจบเราก็ถาม ยังไงอาจารย ? อุตสาหตอบใหจบ พรอม ๆ กัน กลับมายอนถามแลวทํายังไง ? ตรงนี้แหละที่ทําใหชา เพราะเราไมไดมุงที่จะฟง มุงแตจะเลาอยางเดียว ความสงสัยจึงมีอยู เต็ม บางครั้งสอนเสร็จแลว กลับมาอีกทีไปอีกอยาง ก็เลยกลายเปน วาทําใหเกิดความสับสน หลักไมตอเนื่องการปฏิบัติก็วน แทนที่จะ เดินหนาไปอยางสบาย ๆ กลับชะงัก เพราะไมวาสภาวะไหนเกิดก็กังวล ไปหมดเลยทําใหชา
วิธีสงอารมณ ใหเราเลาอาการพระไตรลักษณ การเปลี่ยนแปลง ของอาการในขณะนั้น แตละอารมณแตละอาการตองเลาตั้งแตตนจนจบ ไมวาจะเปนอาการของรูปหรือนาม และที่สําคัญจะตองจับอาการเกิดดับ ของนามใหไดมากที่สุด การปฏิบัติจึงจะกาวหนา ขณะที่จิตเรามุงเขาไป ในอารมณ จิตมีกําลังหรือเปลา ? ถาจิตไมมีกําลังใหเปลี่ยนเปนรูกวาง จิตจะมีกําลังขึ้นมา บางครั้งมุงดูแตรูปอยางเดียว ขณะที่มุงไปขางหนา อยางเดียว จะไมเห็นนามเปลี่ยน ทําใหปญญาเกิดชา ขณะที่เราเห็นอาการ เกิดดับของนามมาก ๆ ทําใหการปฏิบัติของเราเร็วขึ้น วิธีนี้เรียกวา ยกจิตขึ้นสูวิปสสนา