Page 40 - มรรควิถี
P. 40

26
บนโลกนี้ไมมีอะไรเที่ยงถาวร เกิดขึ้น ตั้งอยู แลวก็ดับไป เมื่อเรารูวา เกิดขึ้น ตั้งอยู แลวก็ดับไป จิตเราก็จะคลายจากอุปาทาน ไมยึดมั่น ถือมั่นในสิ่งที่เกิดขึ้น เมื่อเราเขาใจตรงนี้ ไมยึดอยางบัญญัติแลว ไมยึด วารางกายนี้เปนของเรา สิ่งตาง ๆ ที่เราเห็นนี้ไมเปนของเรา แมใจก็ ไมเปนของเรา ถาหวังมรรค ผล นิพพาน ก็ตองกําหนดรู แมแตใจแม แตจิตเองก็ไมเที่ยง สังเกตดูนะขณะที่เราไดยินเสียง ๆ มีแลวดับไป มั้ย ? วิธีสังเกต ใหเอาจิตเขาไปในเสียงที่เกิดอยูในที่วาง แลวก็สังเกต ดูวา ขณะที่จิตกับเสียงอยูที่เดียวกัน ขณะที่เสียงดับจิตที่อยูในเสียง ดับไปดวยหรือเปลา ? ขณะที่เสียงเกิดขึ้นก็เอาจิตไปไวในเสียง พอ เสียงดับปุบจิตเราดับไปดวยหรือเปลา ? แตละครั้งแตละขณะ ถา จิตเราอยูในเสียงเราจะเห็นวา พอเสียงดับปุบจิตก็จะมีอาการหมด ไปดวย จิตดวงใหมก็เกิดขึ้น ดับแลวก็เกิดใหม ดับแตละครั้งใหความ รูสึกยังไง ? ยิ่งดับ จิตยิ่งเบา ยิ่งอิสระมากขึ้น นั่นคือความไมเที่ยงของ รูป เพราะฉะนั้น การกําหนดอารมณตาง ๆ ไมวาจะเปนขณะยืน เดิน นั่ง นอน กิน ดื่ม ฟง พูด คิด หรืออิริยาบถยอย ใหสังเกตลักษณะของ แตละสภาวะที่เกิดขึ้นนั้น เกิดดับในลักษณะอยางไร ? ก็คือการพิจารณา อาการพระไตรลักษณ พิจารณาความไมเที่ยง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
ขอฝากนิดหนึ่งวา การพิจารณาก็คือการสังเกตเขาไป สังเกตรูตาม ความเปนจริง ไมใชเอามาคิด ถาเอามาคิดเมื่อไหรก็จะเปนตรรกะ เปน จินตามยปญญา ไมใชภาวนามยปญญา ที่รูแจง เห็นแจง เห็นตาม รูตาม ความเปนจริง เพราะฉะนั้นตองเอาความรูสึกหรือจิตของเรา เขาไปใน อาการที่เกิดขึ้นขณะนั้น ๆ ซึ่งเปนอารมณปจจุบันจริง ๆ จึงจะเห็นการ เกิดดับของรูปนามได ขอฝากเอาไว นี่คือวิธีกําหนดอารมณกําหนด สภาวธรรมไมวาจะมีอารมณไหนเกิดขึ้นก็ตาม เชนความกลัว หรือมี ความทุกขเกิดขึ้น ใหดับทันทีอยาไปกังวลวาไมทันแลวนะ ใหเอาความ


































































































   38   39   40   41   42