Page 39 - มรรควิถี
P. 39

เรา ? สัญญาเปนของเรา ? สังขารเปนของเรา ? วิญญาณเปนของเรา ? สมควรแลวหรือ ? พระพุทธเจาทรงถามภิกษุวา เมื่อไมเที่ยงเปนทุกขหรือ เปนสุขเลา ? ภิกษุก็บอกวาเปนทุกข เมื่อเปนทุกขเปนอัตตาหรืออนัตตา ? เมื่อเกิดขึ้นแลวตั้งอยูแลวก็ดับไปเปนอัตตาหรืออนัตตา ภิกษุบอกวา เปนอนัตตา เมื่อเปนอนัตตาสมควรแลวหรือที่ยึดวาเปนเราเปนเขา ? ยึด ไมได นี่เราพิจารณาอยางนี้เราจะเห็นตามความเปนจริงไมใชคิด แตตอง กําหนดรู
อาจารยสอนอยางนี้ก็แยกรูปนามได พิจารณาดูเขาไปในความรูสึก ที่วางก็ได กําหนดเวทนามีอาการชามีอาการเมื่อยก็ได อาจารยใหกําหนด อาการเวทนา พอกําหนดสักพักเวทนาก็วางหายไป พอสอนจบก็บอก อาจารยวา ชวยเทศนสติปฏฐาน ๔ ใหฟงหนอย การพิจารณาดูกายในกาย ขณะที่เราดูลมหายใจเขาออก นั่นคือดูกายในกาย แลวก็เอาความรูสึก ไปรูแตละสวนของรางกาย ดูแลวก็วางนั่นแหละการพิจารณากายในกาย เวทนาในเวทนาก็คือ ใหเอาความรูสึกที่วางไปกําหนดเวทนา เวทนามีอาการ เกิดดับ ๆ หรือคอย ๆ จางหายไป แลวรูสึกวางไป ไมมีตัวตน เวทนาอยู ในที่วาง ๆ นั่นแหละ ดูเวทนาในเวทนา แลวดูจิตในจิตทําอยางไร ? ก็คือ พิจารณาเขาไปในจิตที่วางรูสึกอยางไร ? ยิ่งดูยิ่งวาง จิตยิ่งผองใส ยิ่งเบา ยิ่งโลง นั่นแหละดูจิตในจิต แลวดูธรรมในธรรมอยูตรงไหน ? สภาวะที่ เกิดขึ้นจัดเปนธรรม รูปนามอันนี้ก็คือสภาวธรรม ทุกอยางที่เกิดขึ้นทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นั่นคือสภาวธรรม คือลักษณะที่เสมอกันแหงสังขาร ทั้งปวง ก็คือ เกิดขึ้น ตั้งอยู แลวก็ดับไป ไมเที่ยง เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ดูเขาไปในจิตที่วาง ๆ ก็ไมเที่ยง นั่นแหละดูธรรมในธรรม กายในกาย จิตในจิต เวทนาในเวทนา
เราพิจารณาอยางนี้พิจารณาเพื่ออะไร ? เพื่อที่จะไมใหยึดติดใน อารมณตาง ๆ ใหเห็นตามความเปนจริงวา สภาวะทุกอยางที่เกิดขึ้นอยู
25


































































































   37   38   39   40   41