Page 63 - มรรควิถี
P. 63

ปรมัตถ กิเลสไมสามารถเกิดขึ้นได ในขณะเดียวกันก็กําลังละกิเลส ไปเรื่อย ๆ ขัดเกลาจิตใจ ขัดเกลากิเลสของตัวเองไปเรื่อย ๆ
หลักของการปฏิบัติวิปสสนา จึงเนนที่อาการเกิดดับของรูปนาม ขณะที่เราเห็นอาการเกิดดับของรูปนามที่เปนปรมัตถ จิตเราจะมีความรูสึก ผองใสมากขึ้น โปรงมากขึ้น เบาขึ้น สวางขึ้น โลงขึ้น สงบมากขึ้น ยิ่งสงบ ยิ่งใส ยิ่งเบายิ่งโลง นั่นละคือสภาพจิตที่ผองใส สภาพจิตที่เบาไมมีอกุศล มีแตกุศล ถาเราไมเห็นอาการพระไตรลักษณกิเลสจะไมดับ บางคนเห็นแต อาการเกิดดับของรูป คือเห็นอะไรก็ดับหมด เห็นอะไรก็ดับหมด แตไมเห็น จิตตัวเองดับไมเห็นนามดับ จิตนี้ถาไมดับเมื่อไร ก็เปนที่อาศัยของอัตตา เปนที่อาศัยของตัวตน ตัวตนจะเกิดขึ้นไดก็ตองอาศัยกิเลส เปนสิ่งที่เกี่ยว เนื่องกันอยูอยางนี้ ถาเราปฏิบัติเพื่อหวังมรรค ผล นิพพาน ขอใหเราเนน กําหนดอาการเกิดดับของทุก ๆ สภาวะ ทุก ๆ อารมณที่เกิดขึ้น ไมวาจะ เปนทางตา หู จมูก ลิ้น กาย หรือใจก็ตาม ใหเรากําหนดอาการเกิดดับของ อารมณนั้น ๆ ไมตองไปกังวลวาผิดหรือถูก เมื่อเรามีสติกําหนดรูถึงการ เปลี่ยนแปลงของสภาวะ การปฏิบัตินั้นไมผิด เรากําหนดรูถึงอาการเปลี่ยน แปลง จิตจะไมมีอุปาทาน จะไมยึดอารมณนั้นวาเที่ยง เปนนิจจัง เปนสุข ขัง เราจะเห็นวาอารมณนั้นเปนอนัตตา เห็นวาไมเที่ยง เห็นวาเกิดขึ้นแลว ดับไป กิเลสก็จะนอยลงเรื่อย ๆ นี่คือหลักของการปฏิบัติวิปสสนา
อยากใหเราทบทวนถึงสิ่งที่พิจารณา เราจะตองพิจารณาใหทั่วทุก อิริยาบถ อยาพิจารณาเฉพาะอารมณใดอารมณหนึ่ง ใหเราพิจารณาทุก ๆ อิริยาบถ เวลานั่ง เวลายืน ฯ อิริยาบถยอย พิจารณาความคิด พิจารณา เวทนา พิจารณาอาการเกิดดับของอารมณเหลานี้ใหมาก สติเราจิตเราจะ ไมวางจากอารมณ จะไมวางจากการปฏิบัติ แตถาไมพิจารณาสิ่งเหลานี้ จิตจะวางจากการกําหนดอารมณ เราก็จะรูสึกเหมือนกับวาไมไดทําอะไรเลย รูสึกเหมือนกับวาเรากําหนดอะไรไมถูก ไมมีอารมณใหกําหนด อารมณที่
49


































































































   61   62   63   64   65