Page 147 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาสภาวธรรม
P. 147

สติปัฏฐาน ตามกาหนดรู้ไป รู้การเปลี่ยนแปลง รู้อย่างไร รู้แบบเดียวกันกับตามลมหายใจนั่นแหละ
เพราะสภาวธรรมเหล่านี้ เขาจะสลับกันเกิดขึ้น เขาสลับกันเกิดขึ้น ไม่ได้หมายความว่า อารมณ์ ปจั จบุ นั ฉนั จะเลอื กแตล่ มหายใจอยา่ งเดยี ว พอมอี าการเปลยี่ นแปลง มอี าการเตน้ หวั ใจเกดิ ขนึ้ กไ็ มไ่ ดส้ นใจ มีอาการกระเพื่อมไหวเกิดขึ้น ก็ไม่ได้สนใจ ในขณะที่อาการของลมหายใจ หายไปแล้ว แต่ก็ยังพยายามหา ลมหายใจอยู่ นนั่ หมายถงึ วา่ เราไมไ่ ดอ้ ยกู่ บั ปจั จบุ นั นะ ไมไ่ ดอ้ ยกู่ บั ปจั จบุ นั กก็ ลายเปน็ พยายามสรา้ งอารมณ์ ขึ้นมา ทาให้ลมหายใจแรงขึ้นมา ทาให้ลมหายใจเกิดขึ้นมา ทั้ง ๆ ที่เขาว่างไป เขาเบาไป บางไป
เพราะฉะนั้นหลักการแล้ว เราไม่ต้องไปบังคับ ไม่ต้องไปบังคับ ถ้าลมหายใจหายไป ก็ให้รู้ชัดว่าเขา หายไป วา่ งไป กร็ ชู้ ดั วา่ วา่ งไป เลอื นไป กร็ ชู้ ดั วา่ เลอื นไป แรงขนึ้ มา กใ็ หร้ ชู้ ดั วา่ แรงขนึ้ มา อนั นคี้ อื อาการทาง กาย เขาเรยี กหายใจยาวกร็ วู้ า่ ยาว สนั้ กร็ วู้ า่ สนั้ เพราะฉะนนั้ ตรงนี้ หมายถงึ วา่ การกา หนดรคู้ วามเปลยี่ นแปลง หรือความเป็นอนิจจังของลมหายใจ ของอาการทางกายที่เกิดขึ้น และอีกอย่างหนึ่ง อาการทางกายที่เกิดขึ้น เวลาเรานั่งกรรมฐาน ตรงนี้ เขาเรียกว่า ตามรู้อาการทางกาย อีกอย่างหนึ่งก็คือ ความเย็น ความร้อน อาการเคร่งตึง ความหนัก ความเบา ที่เกิดขึ้นตามร่างกาย ก็เป็นอาการทางกายที่เกิดขึ้น
เวลาเรานั่งกรรมฐาน เราจะรู้ว่า บางทีนั่งอยู่แล้วเหงื่อออก มีความร้อนเข้ามา มีความเย็นเกิดขึ้น มีอาการเคร่งตึงตามแขน ตามขา ตามตัว ตามหลัง หรือตึงทั้งหน้า อันนี้ก็คืออาการเคร่งตึง เป็นอาการทาง กายที่เกิดขึ้น แต่อาการทางกายที่เกิดขึ้น ทุกอย่างเป็นสภาวธรรม เป็นสภาวธรรม ทาไมถึงเรียกว่าเป็น สภาวธรรม เพราะเปน็ ธรรมชาติ เปน็ ปกตอิ ยอู่ ยา่ งนนั้ แหละ เดยี๋ วหนกั เดยี๋ วเบา เดยี๋ วตงึ แตก่ ารทเี่ ราสนใจ หรอื ใสใ่ จ เอาอารมณน์ นั้ มาเปน็ อารมณก์ รรมฐานนนั้ จะทา ใหส้ ตเิ รามกี า ลงั หรอื สมาธมิ คี วามตงั้ มนั่ ปญั ญา เกิดขึ้นมาให้เห็น ได้เห็นตามความเป็นจริง ที่กาลังเป็นไปอยู่
ว่าจริง ๆ แล้ว อาการทางกายที่เกิดขึ้น ก็เป็นอยู่อย่างนี้ เปลี่ยนสลับสับเปลี่ยนกันมา เพื่อให้เราได้ กาหนดรู้เจริญกรรมฐาน และการพิจารณาถึงความไม่เที่ยง ความเปลี่ยนแปลง การเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป จะทา ใหเ้ ราคลายจากความหลง คลายจากความหลง ๆ เขา้ ใจผดิ วา่ ทกุ อยา่ งเปน็ ของเทยี่ ง รปู เปน็ ของเทยี่ ง ร่างกายนี้มันเป็นอยู่อย่างนี้ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง และจิตจะคลายจากอุปาทาน เมื่อเห็นความจริงด้วยตา ปัญญาของตนเอง เห็นด้วยตัวเองจริง ๆ ด้วยใจ ด้วยตาปัญญาของตนเอง ว่าเป็นแบบนี้จริง ๆ ไม่ได้เป็น อย่างอื่นเลย นั่นคือสภาวธรรมที่เกิดขึ้น
อีกอย่างหนึ่งที่เป็นอารมณ์กรรมฐาน นอกจากอาการทางกาย กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน มีสติตาม กาหนดรู้อาการทางกาย อีกอย่างหนึ่งก็คือ เขาเรียกว่า เวทนา เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน เวทนานี้แยกเป็น ๒ อย่าง เป็น ๒ ทาง เป็นเวทนาทางกาย อย่างหนึ่ง เป็นเวทนาทางจิต อย่างหนึ่ง เวทนาทางกายคืออะไร คือความปวด ความเมื่อย อาการชา อาการคัน ที่เกิดขึ้นตามร่างกาย นั่นคือเป็นสภาวธรรม เมื่อไหร่ก็ตาม ที่คนเรามีร่างกาย มีตัว ได้เกิด...ได้เวียนว่ายตายเกิดในภพภูมิต่าง ๆ พอเกิดขึ้นมาแล้ว มีร่างกายก็จะมี ความเจ็บ ความปวด อาการเมื่อย อาการชา อาการคัน เป็นเรื่องธรรมดา เป็นเรื่องปกติ
455


































































































   145   146   147   148   149