Page 146 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาสภาวธรรม
P. 146

454
เขาเรียกว่า อาการของลมหายใจเข้า หายใจออก ไม่ว่าเราจะหายใจเข้าหายใจออก เราจะปฏิบัติไม่ ปฏิบัติ เราจะสนใจไม่สนใจ ร่างกายนี้ก็ยังทาหน้าที่หายใจเข้า หายใจออก เป็นเรื่องปกติ เป็นเรื่องธรรมดา เพราะฉะนั้น อารมณ์...การที่เราเอาอาการของลมหายใจเข้าออก มาเป็นอารมณ์กรรมฐานนั้น จะทาให้เรารู้ ถ งึ ธ ร ร ม ช า ต ิ ค ว า ม เ ป น็ จ ร งิ ท เี ่ ก ดิ ข นึ ้ โ ด ย ท ไี ่ ม ต่ อ้ ง ส ร า้ ง เ ร า อ า ศ ยั อ า ร ม ณ น์ นั ้ เ พ อื ่ ก า ร เ จ ร ญิ ส ต ิ เ พ อื ่ ก า ร พ ฒั น า สติ สมาธิ ปัญญาของเรา
อาศยั อยา่ งไร ทเี่ ขาบอกวา่ ใหม้ สี ตริ อู้ ยกู่ บั อารมณป์ จั จบุ นั รอู้ ยกู่ บั อารมณป์ จั จบุ นั เพราะฉะนนั้ เวลา เราทา ทาอย่างไร ที่เราปฏิบัติ หลับตาลง ทาใจให้สบาย ๆ ไม่ต้องไปกังวล ไม่ต้องเครียด ทาใจให้สบาย ๆ ผ่อนคลาย จากนั้นก็ให้ใส่ใจ มีสติตามกาหนดรู้ อาการของลมหายใจเข้าออก อันนี้เป็นเบื้องต้นอย่างหนึ่ง ที่เวลาเรานั่งกรรมฐาน เจริญกรรมฐาน อาศัยตามรู้ลมหายใจเข้าออก ทีนี้เวลาตามกาหนดรู้ อาการของ ลมหายใจเข้าออกนี่นะ เราจะรู้อะไร รู้อย่างไร คือการมีสติรู้อยู่กับปัจจุบัน การมีสติรู้ ดูลมหายใจเข้าออก ไม่ให้สติเราหลุดจากอาการของลมหายใจ ที่เข้าออกนั้นอย่างหนึ่ง
อีกอย่างหนึ่ง ที่เป็นอารมณ์วิปัสสนา เป็นการยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนา คือพิจารณาความเปลี่ยนแปลง มสี ตติ ามกา หนดรวู้ า่ ความเปลยี่ นแปลงของลมหายใจเขา้ ออกของเรา เวลาหายใจเขา้ ลมหายใจเปน็ อยา่ งไร มียาวหรือสั้น มีอาการอย่างไร ให้สังเกตการเปลี่ยนแปลง ถ้ายาว ๆ ไป สุด มีอาการหยุด มีอาการหายไป ก่อนไหม ก่อนที่จะหายใจออกมา ตามรู้ความเปลี่ยนแปลงในลักษณะอย่างนี้ ความเปลี่ยนแปลง ๆ คือ ความไม่เที่ยง เขาเรียกว่าเป็นอนิจจัง ลักษณะความเปลี่ยนแปลง ความเป็นอนิจจังของลมหายใจ
ถ้าเราตามรู้แบบนี้ต่อเนื่อง ไม่ใช่แค่สติเราอยู่กับปัจจุบัน เพื่อให้สมาธิเพิ่มขึ้น แต่ทาให้เห็นถึง กฎไตรลักษณ์ คือความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ของกาย ของอาการทางกายที่เกิดขึ้น ตรงนี้เป็นการ พัฒนาปัญญาไปในตัว คือความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ของอะไร ของกาย ของรูป เพราะอะไร คนเรา นี่นะ ประกอบด้วยขันธ์ทั้ง ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ การที่เราตามรู้ลมหายใจในเบื้องต้น เขาเรียกว่ากายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ตามรู้อาการทางกายที่เกิดขึ้น
เพราะฉะนั้นเวลาเรานั่งกรรมฐาน ให้มีเจตนาที่จะตามรู้อาการของกาย อาการทางกายที่เกิดขึ้น ว่า เป็นไปอย่างไร เปลี่ยนไปอย่างไร หน้าที่ของผู้ปฏิบัติ คือ มีเจตนาตามกาหนดรู้ถึงการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป เปลี่ยนไป อันนี้อย่างหนึ่ง และอาการทางกาย ไม่ใช่เฉพาะอาการของลมหายใจเข้าออก บางทีอาการเต้น ของหวั ใจ เวลาเรานงั่ สงบ ๆ ลมหายใจเบา ๆ ไป หายไป มอี าการเตน้ ของหวั ใจ มอี าการของชพี จรเกดิ ขนึ้ มา นนั่ กเ็ ปน็ อาการทางกายทเี่ กดิ ขนึ้ เปน็ สภาวธรรมทเี่ กดิ ขนึ้ ทเี่ ราพงึ พจิ ารณา เขา้ ไปตามกา หนดรอู้ าการนนั้ ๆ อารมณ์นั้นต่อไปว่า ก็มีการเปลี่ยนแปลง มีการเกิดดับอย่างไรต่อไป อันนี้ก็เป็นอาการทางกาย
อีกอย่างหนึ่ง อาการทางกายที่เกิดขึ้น เวลาเราหายใจเข้าออกนี่แหละ หายใจเข้า หายใจออก แต่ บางที บางคนไมร่ สู้ กึ ถงึ ลมหายใจเขา้ ออก แตไ่ ปรถู้ งึ อาการกระเพอื่ ม อาการกระเพอื่ มของรา่ งกาย หรอื ทที่ อ้ ง หายใจเข้าท้องมันพองออก หายใจออกท้องมันยุบลง มันค่อย ๆ กระเพื่อม เปลี่ยนไป นั่นก็คืออาการ ทางกาย เมื่อไหร่ก็ตาม ที่เราตามรู้อาการนี้ เขาเรียกดูกาย รู้อาการทางกาย ที่เขาเรียกว่า กายานุปัสสนา-


































































































   144   145   146   147   148