Page 152 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาสภาวธรรม
P. 152

460
ปัญญาแต่ละคน ว่ามีแนวทางอย่างไร มีเจตนา มีปัญญาแค่ไหน หรือถูกครอบงาด้วยอวิชชา ด้วย ความไม่รู้ แล้วคิดแบบไหน คิดแล้วส่งผลดีต่อชีวิต คิดแล้วส่งผลไม่ดีต่อจิตใจของตนเอง ทาให้เกิดความ ทกุ ขม์ ากขนึ้ หรอื เปน็ อยา่ งไร นคี่ อื เหตทุ จี่ ะทา ใหเ้ ราทกุ ข์ เราสขุ หรอื ประกอบดว้ ยปญั ญาทเี่ กดิ ขนึ้ มา เพราะ ค ว า ม ค ดิ ท เี ่ ก ดิ ข นึ ้ เ ป น็ ธ ร ร ม ช า ต ิ เ ป น็ ธ ร ร ม ด า ข อ ง ข นั ธ ์ เ ข า เ ร ยี ก ว า่ ส ญั ญ า ข นั ธ ์ ห ร อื ส งั ข า ร ข นั ธ ์ เ พ ร า ะ ค น เ ร า ไม่ได้ทุกข์ แค่เพียงเพราะเห็นภาพต่าง ๆ ไม่ได้ทุกข์เพียงเพราะได้เห็นสีต่าง ๆ หรือได้ยินเสียงอย่างเดียว แต่เห็นแล้วปรุงแต่ง หรือคิด
และความคดิ ทเี่ กดิ ขนึ้ บางครงั้ ความคดิ ทเี่ กดิ ขนึ้ ณ ปจั จบุ นั เรอื่ งนนั้ ยงั ไมไดเ้ กดิ ดว้ ยซา้ ไป แตเ่ ปน็ ความทุกข์ที่เกิดจาการปรุงแต่ง คิดเองเออเอง หรือเพราะสัญญาเก่า ๆ ที่เกิดขึ้นมา ทั้ง ๆ ที่เรื่องนั้นผ่านไป นานแล้ว พอคิดขึ้นมาเมื่อไหร่ ก็ทุกข์เมื่อนั้น คิดขึ้นมาเมื่อไหร่ ก็ทุกข์เมื่อนั้น ถามว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร นั่น เกิดขึ้นเพราะว่าปัญญา สติ สมาธิ ปัญญา ที่เราไม่เข้าใจ ไม่ได้เห็นชัดถึงการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ว่าเป็น เรื่องของอดีตแล้วยึดขึ้นมา คิดขึ้นมาใหม่ ก็ยึดว่าเป็นของปัจจุบัน เป็นของเดิม เป็นของที่ตั้งอยู่ตลอดเวลา
ที่เราคิดว่าเป็นของที่ตั้งอยู่ตลอดเวลานี่แหละ จึงเป็นลักษณะของความเข้าใจว่า เป็นของเที่ยง คิด มาเมื่อไหร่ก็ทุกข์เมื่อนั้น ตรงนี้กลายเป็นอะไร เขาเรียกเป็นมโนกรรม คือสร้างขึ้นมาใหม่ จิตที่ปรุงแต่งขึ้น มาใหม่ เรอื่ งราวเปน็ เรอื่ งของอดตี แตค่ ดิ แลว้ กป็ รงุ แตง่ ใหมข่ นึ้ มา แลว้ ทา ใหเ้ ปน็ ทกุ ขข์ นึ้ มา อนั นอี้ ยา่ งหนงึ่ เพราะฉะนั้นเวลาเจริญกรรมฐาน นั่งกรรมฐาน หรือเดินจงกรมก็ตาม เมื่อมีความคิดเกิดขึ้นมา หน้าที่ของ ผู้ปฎิบัติ ให้สังเกตแบบนี้ว่า ความคิดที่เกิดขึ้นมานั้น เกิดดับอย่างไร อันนี้ลัดวงจร ตัดให้สั้นลงนิดหนึ่ง เพื่อที่จะกาหนดรู้ถึงกฎของไตรลักษณ์ ถึงลักษณะที่เป็นธรรมชาติ
พระพุทธเจ้าตรัสว่า เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เราก็เอาตรงนั้นแหละ มาพิจารณาดูว่า เป็นจริงแล้วเป็นอย่างไร แล้วถ้าเกิดการดับจริง ๆ ผลที่ตามมา ทาให้จิตใจเป็นอย่างไร อันนี้คือผลที่จะเกิด ขนึ้ประโยชนท์เี่ราจะไดร้บัทนัทีเมอื่มปีญัญาเหน็ชดัวา่ความคดิทเี่กดิขนึ้มานนั้มกีารเปลยี่นแปลงเกดิดบั อยา่ งไร อนั นคี้ อื จติ ตานปุ สั สนาสตปิ ฏั ฐาน และอกี อยา่ งหนงึ่ จติ ตานปุ สั สนาสตปิ ฏั ฐาน จรงิ ๆ แลว้ เหมอื น เวทนาทางจิตเมื่อกี้นี้
สงั เกตไหมวา่ เวลาเราคดิ คดิ เรอื่ งดี ๆ จติ ใจรสู้ กึ อยา่ งไร มคี วามสขุ มคี วามอมิ่ ใจ มคี วามสบายใจ มี ความเบกิ บานใจ นนั่ คอื ลกั ษณะของสภาพจติ เวลาเราคดิ ถงึ ความดี คดิ ถงึ บญุ ทที่ า จติ ใจรสู้ กึ อมิ่ ใจ สบายใจ เบิกบานใจขึ้นมา นั่นคือลักษณะของสภาพจิต กับคิดถึงเรื่องไม่ดี แล้วจิตใจขุ่นมัว หดหู่ แห้งแล้ง ห่อเหี่ยว เกิดความสลด เกิดความเศร้าหมอง นั่นคือลักษณะของสภาพจิตอย่างหนึ่ง เพราะฉะนั้น คาว่าการดูจิตใน จิตนั้น ดูอย่างไร การดูจิตในจิต อย่างที่บอกว่า เป็นเวทนาทางจิตที่เกิดขึ้น เราก็จะรู้ว่าคิดแล้วไม่สบายใจ จติ ใจขนุ่ มวั เศรา้ หมองขนึ้ มา เราจะละความขนุ่ มวั เศรา้ หมองนนั้ อยา่ งไร กลายเปน็ วา่ กา หนดรเู้ วทนาทางจติ
ดูจิตในจิต คือดูจิตที่กาลังเป็นอยู่ มีสติเข้าไปกาหนดรู้ว่า ความขุ่นที่เกิดขึ้นมา มีสติเข้าไปกาหนด รู้ว่า เขาเปลี่ยนอย่างไร เกิดแล้วดับอย่างไร เกิดแล้วหายอย่างไร กาหนดรู้ในกฎไตรลักษณ์ทั้งหมด เพราะ ไม่มีธรรมะอันไหน ที่อยู่นอกเหนือกฎของไตรลักษณ์ ธรรมชาติทุกอย่าง เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป เรื่องของ


































































































   150   151   152   153   154