Page 156 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาสภาวธรรม
P. 156

464
พอใจที่จะทา สภาวธรรมที่เกิดขึ้น ยกตัวอย่างเช่น เรานั่งกรรมฐาน ปวดมากเลย นั่งนานไม่ได้ นั่งไม่ได้ ไม่ ต้องไปกังวล ให้มีสติกาหนดรู้ ขอให้มีสติรู้อยู่กับอาการที่เกิดขึ้น
เวลาขยับปรับท่านั่ง เราก็มีสติกาหนดรู้ถึงการเปลี่ยนแปลง ถึงการขยับ ไม่ต้องไปปรุงแต่ง ไม่ได้ หลดุ แลว้ หลดุ เลย ไมใ่ ชว่ า่ ขยบั แลว้ สตเิ ราจะหาย...ไมห่ าย ไมเ่ ชน่ นนั้ เราจะทา งานเคลอื่ นไหวในชวี ติ ประจา วนั ไดอ้ ยา่ งไร ถา้ แคข่ ยบั สตหิ ายไป แคข่ ยบั สตหิ ายไป ชวี ติ ประจา วนั เรากอ็ ยแู่ บบไมม่ สี ติ แตก่ ารขยบั อยา่ ง มีสติ กาหนดรู้ไป เพียงแต่ว่าการขยับบ่อย ๆ อาจจะทาให้สมาธิ ความตั้งมั่นของจิตเรา ไม่ตั้งมั่นเท่าที่ควร แต่การที่เราจะขยับ ก็ต้องอดทนถึงที่สุด แล้วค่อยขยับค่อยเคลื่อนไหวได้ ถ้าเป็นอย่างนั้นจิตก็จะตั้งมั่นขึ้น สมาธิมีความตั้งมั่นขึ้น สมาธิก็ดีได้
เพราะฉะนั้น ขอให้ปฏิบัติด้วยความรู้สึกสบายใจ แต่ไม่ใช่แบบปล่อยสบาย ๆ ปล่อยปละละเลย โดยที่ไม่มีสติ ทาอย่างมีความสุข เรารู้ว่าตอนนี้ เรากาลังทาจิตของเราให้มีความสุข เรากาลังมาชาระความ ท กุ ข ์ ค ว า ม ท กุ ข ใ์ จ ท เี ่ ก ดิ ข นึ ้ ม า พ ฒั น า ส ต ิ ส ม า ธ ิ ป ญั ญ า ข อ ง ต น เ อ ง ใ ห แ้ ก ก่ ล า้ ข นึ ้ เ ท า่ น นั ้ เ อ ง ถ า้ เ ร า ค ดิ อ ย า่ ง น ี ้ มีเจตนาแบบนี้ เราจะได้ปฏิบัติแบบสบาย ๆ ไม่ว่าจะไปเดินจงกรม นั่งสมาธิ มีสติรู้อยู่ตลอดเวลา พอใจ ที่จะกาหนดรู้ความหงุดหงิด ความราคาญใจจากการปฏิบัติ ก็ไม่เกิดขึ้น เรามีแต่ว่า รู้ทัน รู้ไม่ทัน สติอ่อน สติดี เราจะรู้แบบนั้น สติอ่อน เริ่มใหม่ สติดีแล้ว ทาต่อไป ให้ดียิ่ง ๆ ขึ้นไป นี่คือหลักการของการปฏิบัติ
เพราะฉะนั้นช่วงนี้ คิดว่า...การให้แนวทางในการปฏิบัติพอเป็นเบื้องต้น พอเป็นสังเขป ก็เห็นว่า สมควรแก่เวลา ก็ขอหยุดไว้แต่เพียงเท่านี้ ขอความเจริญในธรรมจงมีแก่โยคีทุก ๆ คน เจริญพร
เดี๋ยวแผ่เมตตาก่อนนะ ตอนที่คลายจากสมาธิจิตเรายังมีกาลัง สภาพจิตใจเรายังเป็นกุศลยังดีอยู่ นอ้ มถงึ บญุ กศุ ลทเี่ ราไดท้ า การแผเ่ มตตาคอื การแผค่ วามสขุ การแผเ่ มตตาปรารถนาใหผ้ อู้ นื่ มคี วามสขุ กอ่ น ทจี่ ะสง่ ความสขุ เรากต็ อ้ งเตมิ ความสขุ ใหก้ บั ตวั เองกอ่ น ทา ใจใหว้ า่ งแลว้ นอ้ มถงึ บญุ กศุ ลทเี่ ราไดท้ า ระลกึ ถงึ บญุ กศุ ลทเี่ ราไดท้ า นอ้ มเขา้ มาใสใ่ จของเราใหเ้ ตม็ มาบรเิ วณหทยวตั ถุ เตมิ ความสขุ ลงไปในใจทวี่ า่ ง ๆ ทโี่ ลง่ ๆ เบา ๆ เตมิ ลงไปใหเ้ ตม็ ใหเ้ ตม็ จนลน้ จากตวั พอจติ เรามกี า ลงั มคี วามสขุ มพี ลงั บญุ ตรงนี้ พอลน้ ออกมาแลว้ ก็ตั้งจิตอธิษฐานให้กับตนเอง
ด ว้ ย อ า น ภุ า พ แ ห ง่ บ ญุ น ี ้ จ ง ม า เ ป น็ ต บ ะ เ ป น็ พ ล ว ะ เ ป น็ ป จั จ ยั ใ ห เ้ ร า ม แี ต ค่ ว า ม เ จ ร ญิ ม คี ว า ม เ จ ร ญิ ใ น ธรรมยิ่ง ๆ ขึ้นไป จากนั้นก็แผ่ความสุขนี้ แผ่จิตที่มีความสุขนี้ให้กว้างออกไป ให้กว้างออกไปไม่มีขอบเขต ไม่มีประมาณ ให้กว้างเท่าจักรวาล
แล้วตั้งจิตอธิษฐาน แผ่บุญกุศลอันนี้ให้กับผู้มีพระคุณทั้งหลาย ไม่ว่าจะเป็นพ่อแม่ ครูบาอาจารย์ ลูกหลาน ญาติสนิทมิตรสหาย เพื่อนร่วมโลกเกิดแก่เจ็บตาย เทวดาทั้งหลาย ทั้งที่อยู่ ณ สถานที่แห่งนี้และ ทอี่ นื่ ๆ จงรบั รู้ ถงึ บญุ กศุ ลทเี่ ราไดแ้ ผไ่ ปแลว้ นี้ เมอื่ รบั รแู้ ลว้ กข็ อใหอ้ นโุ มทนา เมอื่ อนโุ มทนาแลว้ ถา้ มที กุ ขก์ ็ ขอให้พ้นจากทุกข์ ถ้ามีสุขก็ขอให้สุขยิ่ง ๆ ขึ้นไป ถ้ามีเวรมีภัยต่อกัน ก็ขอให้อโหสิกรรมซึ่งกันและกัน เพื่อ ความเจริญความผาสุกในชีวิตตลอดไป


































































































   154   155   156   157   158