Page 163 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาสภาวธรรม
P. 163
471
เป็นสภาวธรรมอย่างดี ที่เราจะอาศัยในการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน เป็นการ...ให้เราชาระจิตใจไปด้วย ในตัว ถ้าสังเกตว่าจิตดวงนี้ดับไป แล้วก็จิตดวงใหม่ขึ้นมา สว่างกว่าเดิม ที่เก็บมาทั้งหมดตลอดทั้งวัน หาย ไปด้วยไหม อกุศลความทุกข์ต่าง ๆ เขาดับไป เขาก็เกลี้ยงไป จิตดวงใหม่ขึ้นมา เป็นจิตที่ผ่องใสกว่าเดิม ตรงนั้นมันก็หมดไป
แตถ่ า้ เมอื่ ไหรท่ เี่ ราไมเ่ หน็ ดบั นนี่ ะ จะรสู้ กึ วา่ ตรงนเี้ ปน็ ตวั สะสมเกบ็ ๆ ๆ รแู้ ลว้ กค็ า้ ง ๆ ๆ ไปเรอื่ ย ๆ นั่นแหละ เป็นการสะสมอารมณ์ รสชาติหรือเชื้อ กิเลสที่อุปาทานมันยึด ๆ ๆ จนปล่อยวางไม่ได้ เพราะ ฉะนนั้ การทเี่ ราสนใจอาการเกดิ ดบั ตรงนี้ เปน็ การปลอ่ ยวางไปในตวั เรมิ่ ตน้ จากการปลอ่ ยวางความรสู้ กึ วา่ เป็นเรา แล้วก็ละ อาการเกิดดับ...อาศัยอาการเกิดดับ ละความเที่ยง ความเข้าใจว่าเป็นของที่ตั้งอยู่ตลอด เวลา เพราะเราเห็นเกิดแล้วดับ ๆ มันไม่เที่ยง เกิดดับตลอดเวลา
จิตเห็นความจริงตรงนี้ก็จะคลาย ต่อไปเห็นอะไรก็จะวางเร็วขึ้น รับรู้อะไร พอเริ่มทุกข์ก็จะวาง เร็วขึ้น เมื่อไหร่ที่รู้สึกว่ากระทบ ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ เกิดขึ้นมาแล้วรู้สึก พอไม่ สบายใจเขาก็จะวาง เขาก็จะละ ไปรู้ที่อาการเกิดดับไป ตรงนี้แหละ จึงบอกว่าเวลาปฏิบัติธรรม เวลาเรานั่ง กรรมฐานทุกครั้ง จึงต้องใส่ใจอาการเกิดดับ ของอารมณ์ปัจจุบันที่เกิดขึ้น โดยที่ไม่ต้องปรุงแต่ง ทาไมถึง เราไม่จาเป็นต้องปรุงแต่ง เพราะอาการของกาย เวทนา จิต ธรรม สภาวะ ๔ อย่างนี้ เขาจะสลับกันมา เรื่อย ๆ ให้เราได้รู้
เรานงั่ เฉย ๆ เขากเ็ กดิ อยา่ งความคดิ นงั่ อยเู่ ฉย ๆ กค็ ดิ ได้ เวทนา...นงั่ เฉย ๆ กป็ วดได้ ลมหายใจ... นั่งเฉย ๆ ก็เกิดขึ้นมา แค่สังเกตอาการที่กาลังเป็นอยู่ รู้อย่างนี้ จิตเราก็เหมือนกัน นั่งอยู่เฉย ๆ เดี๋ยวอึดอัด เดี๋ยวขุ่นมัว เดี๋ยวหงุดหงิด เดี๋ยวราคาญ นั่งอยู่เฉย ๆ ทาไมต้องเป็น ก็นั่งอยู่เฉย ๆ นี่แหละ เพราะไม่เป็น ดั่งใจ เขาก็เลยเป็นแบบนั้น จริง ๆ แล้ว ทาไมถึงเป็น ถ้าเราสติเราดี เรามีความละเอียดอ่อน เราจะเห็นว่า ก่อนที่เขาจะรู้สึกไม่ดี เกิดอะไรขึ้น กาลังเครียดอะไร กาลังต้องการอะไร กาลังปฏิเสธอะไร ไม่ชอบอะไร ตรงนี้แหละ เราจะรู้จักตัวเองมากขึ้น
ยิ่งดูรูปนาม ดูกาย ดูจิต ตรงนี้ การที่เราปฏิบัติ เริ่มจะละเอียดรู้เท่าทันตัวเอง ความปรารถนาของ ตนเอง มากขึ้น ๆ พอรู้ทันปึ๊บนี่นะ พอมีความอยากขึ้นมา เรามีเจตนาที่จะลด จะละความอยากของเรา ความอยากอะไร อยากแล้วทาให้เป็นทุกข์ นั้นคือควรละ ละความอยาก อยากแล้วทาให้เป็นทุกข์ ทาให้ อกุศลเกิด ละความอยากอันนั้น แต่อันไหนที่อยาก...แล้วทาให้ความเป็นกุศลมากขึ้น อยากอะไร อยากรู้ สจั ธรรม อยากปฏบิ ตั ธิ รรม อยากเขา้ ใจในธรรม แลว้ กอ็ ยากสงั เกต...เพมิ่ ปญั ญาตวั เองนนี่ ะ เราอาศยั ความ อยาก เพื่อละความอยากที่เป็นตัวตัณหา อาศัยความอยากพัฒนาตัวเอง ให้มีปัญญาสติสมาธิปัญญามาก ขึ้น อันนี้ต้องอาศัยนะ
ถ้าไม่อาศัยความอยากอย่างนี้แล้ว ก็ขี้เกียจกันทั้งหมด แล้วก็จะรู้สึก...ไม่รู้ ช่างมัน...ช่างมัน ชั่งแต่ มนั ไมไ่ ดช้ งั่ เราสกั ทหี นงึ่ นะ เรากย็ งั ทกุ ขอ์ ยเู่ อง เพราะฉะนนั้ การทเี่ ราปฏบิ ตั นิ นี่ ะ เพราะฉะนนั้ คอื เปา้ หมาย อยากที่จะรู้ อยากรู้ว่าเขาเกิดดับอย่างไร อยากรู้ว่าจิตเกิดดับอย่างไร ถ้าอยากรู้ตรงนี้ นั่นกลายเป็นความ