Page 165 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาสภาวธรรม
P. 165

473
เตน้ ของหวั ใจ มแี ตค่ วามผอ่ งใส พอความผอ่ งใสกวา้ งขนึ้ มอี ะไรชดั ขนึ้ มาในความผอ่ งใสนนั้ มเี สยี ง ไดย้ นิ แต่เสียงอาจารย์อย่างเดียว ได้ยินแต่เสียงอื้ออึงอยู่ที่หู เสียงเรไร เสียงพัดลม เห็นไหม พอนิ่งนิดเดียว พอ หยุด พออาจารย์หยุดเสียง เสียงอาจารย์เงียบไป ก็มีอารมณ์อื่นปรากฏชัดขึ้นมา
ตรงนี้ คือความต่อเนื่องของสภาวธรรม ที่เราสามารถเอามาเป็นอารมณ์กรรมฐานต่อได้ เพื่อความ ต่อเนื่องของสติเรา อารมณ์เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่ส่วนใหญ่ที่ขาดหายไป ก็คือสติของเรา สติไม่ต่อเนื่อง มัวแต่รู้อาการนี้ พอเดี๋ยวอาการนี้หายไป อ้าว! ยิ่งว่างเฉย ไม่ได้รู้อารมณ์ปัจจุบันต่อ ว่าอาการอะไรเกิดต่อ ไป ถ้าเรารู้สึกว่า พอกาหนดรู้อาการนี้หมดไป ว่างปึ๊บ สมมุติว่า อย่างเช่น เสียงอาจารย์หยุดไป...เงียบ เสียง ที่เด่นขึ้นมาคือเรไร จึ๊ด ๆ ๆ ขึ้นมา อาการเกิดดับของอารมณ์นั้นขึ้นมา เข้าไปกาหนดรู้อารมณ์นั้นต่อ เพื่อ ความต่อเนื่องของสติเรา
จิตก็จะมีกาลังมากขึ้น มีความตื่นตัวมากขึ้น มีความตั้งมั่นขึ้นอีก ตรงนี้เขาเรียกว่า อาศัยอารมณ์ ภายนอก อาศยั เสยี ง เพราะฉะนนั้ จงึ บอกวา่ รปู เสยี ง กลนิ่ รส สมั ผสั เกดิ ขนึ้ มา เอามาเปน็ อารมณก์ รรมฐาน ได้หมดเลย ความต่อเนื่องตรงนี้แหละ ที่จะทาให้สติต่อเป็นลูกโซ่ ๆ พอสติต่อเนื่องเป็นลูกโซ่ จิตก็มีความ ตงั้ มนั่ ขนึ้ ตรงน.ี้ ..สมาธกิ ต็ งั้ มนั่ ขนึ้ ดขี นึ้ ไปดว้ ยในขณะเดยี วกนั เพราะฉะนนั้ ลองสงั เกตดนู ะ ตอนนสี้ ภาวะ อะไรเกดิ ขนึ้ มา ใครทรี่ สู้ กึ วา่ ความคดิ มคี วามคดิ เกดิ ขนึ้ มาเปน็ ระยะ ๆ ความคดิ เกยี่ วกบั อะไร อนั นอี้ ยา่ งหนงึ่
ความคดิ ...บางครงั้ เกดิ ขนึ้ มา ความกงั วล กงั วลอะไร กงั วลกบั เวทนา พอมคี วามปวดขนึ้ มา เรมิ่ คดิ เริ่มหวั่นไหว เริ่มไม่สบายใจ เริ่มกระสับกระส่าย ทีนี้อีกอย่างหนึ่งก็คือว่า เวลามีอาการกระสับกระส่ายขึ้น มา สงั เกตนะ บางคน...บางขณะเราจะรสู้ กึ วา่ พอมคี วามคดิ ขนึ้ มา แลว้ รสู้ กึ ไมส่ บายใจ รสู้ กึ กระสบั กระสา่ ย บางทีจะดับอะไรก่อน บางทีเราก็จะรู้สึก...ปฏิเสธความคิด คิดแล้วมันไม่สบายใจ จริง ๆ แล้ว สังเกตแบบ นี้ เวลาความคิดกับอาการ กับความรู้สึกกระสับกระส่าย เรื่องที่คิดกับความรู้สึกที่กระสับกระส่าย เขาเป็น ส่วนเดียวกัน หรือคนละส่วนกัน
สังเกตแบบนี้ เรื่องที่คิด กับความรู้สึกที่กระสับกระส่าย คิดแล้วรู้สึกกระสับกระส่าย รู้สึกไม่สบาย สังเกตดู บางครั้งเราจะเอา ถ้าเราไม่สังเกต เราก็จะรู้สึกว่า เขาเป็นเรื่องเดียวกัน เป็นส่วนเดียวกัน จึงคิด ว่า ความคิด...เป็นเหตุทาให้กระสับกระส่าย เราก็เลยพยายามปฏิเสธความคิด พยายามจะดับความคิด ใน ขณะเดียวกัน บางครั้งพอความคิดหยุดแล้ว แต่จิตยังรู้สึกไม่สบาย ยังรู้สึกกระสับกระส่ายอยู่ ตรงนี้วิธีแก้ เอาความรู้สึก จิตเราที่ว่าง ๆ นี่นะ อาการกระสับกระส่ายเขาอยู่บริเวณนี้ เอาความว่าง ๆ ซ้อนเข้าไป ซ้อน เข้าไป...
ซ้อนเข้าไปที่อาการกระสับกระส่าย ลองดูว่า พอเอาจิตที่ว่าง ๆ ซ้อนเข้าไปแต่ละครั้ง อาการกระสับ กระส่าย รู้สึกเขาเปลี่ยนอย่างไร เขาหายอย่างไร เบาลง เบาลงไปเรื่อย ๆ หรือเปล่า สังเกตแบบนี้ นี่คือวิธี การแก้ เป็นการดับความรู้สึกกระสับกระส่าย ไม่ต้องไปกังวล ไม่ต้องไปราคาญ แค่มีสติซ้อนเข้าไป เขาก็ เบา เขาก็จางหายไป เพราะอารมณ์เหล่านั้น เขาเป็นของไม่เที่ยง ยิ่งกาหนดรู้โดยที่ไม่มีเรา ไม่มีตัวตนด้วย แล้ว เขาจะดับเร็วขึ้นเยอะ


































































































   163   164   165   166   167